สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
กรุงเทพมหานคร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 33 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 33 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
กรุงเทพมหานคร | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 33 |
คะแนนเสียง | 1,397,554 (ก้าวไกล) 639,998 (เพื่อไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2518 |
ที่นั่ง | ประชาชน (31) เพื่อไทย (1) ไทยก้าวหน้า (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยขณะนั้นกรุงเทพมหานครยังถูกแบ่งเป็นจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี
ปี พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีรวมกันเป็น กรุงเทพมหานคร และมีการเลือกตั้งครั้งแรกใน พ.ศ. 2518 หรือสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 เป็นสมาชิกฯ ชุดแรกของกรุงเทพมหานคร
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 10 สมัย ได้แก่ นายสมัคร สุนทรเวช
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของกรุงเทพมหานคร คือ นางพรรณทิพา วัชโรบล (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2518)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ม่วงศิริ (5 คน) ได้แก่ นายปลิว ม่วงศิริ นายประเสริฐ ม่วงศิริ นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ นายสากล ม่วงศิริ และพันตำรวจเอก สามารถ ม่วงศิริ
เขตเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพญาไท · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพระโขนง, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตบางเขน, เขตห้วยขวาง, เขตบางกะปิ และเขตมีนบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตยานนาวาและเขตปทุมวัน · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตธนบุรี, เขตคลองสาน และเขตราษฎร์บูรณะ · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกอกน้อย, เขตบางกอกใหญ่ และเขตตลิ่งชัน · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตหนองแขม และเขตภาษีเจริญ |
26 คน (เขต 1–8 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 9 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพญาไท · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพระโขนง, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตบางเขน, เขตห้วยขวาง, เขตบางกะปิ และเขตมีนบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและเขตปทุมวัน · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตบางกอกน้อยและเขตบางกอกใหญ่ · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางขุนเทียน, เขตภาษีเจริญ, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตตลิ่งชัน · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตยานนาวา |
28 คน (เขต 1–8 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 9–10 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพญาไท · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพระโขนง · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตบางเขน, เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตบางกะปิ · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและเขตปทุมวัน · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกอกน้อยและเขตบางกอกใหญ่ · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตธนบุรี, เขตคลองสาน และเขตราษฎร์บูรณะ · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางขุนเทียน, เขตภาษีเจริญ, เขตหนองแขม และเขตตลิ่งชัน · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตบางรัก |
32 คน (เขต 1–10 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 11 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตดุลิต (เฉพาะแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา), เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตปทุมวัน · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท (เฉพาะแขวงสามเสนใน แขวงถนนเพชรบุรี และแขวงทุ่งพญาไท) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง (ยกเว้นแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวาง, เขตพระโขนง (เฉพาะแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) และเขตพญาไท (ยกเว้นแขวงสามเสนใน แขวงถนนเพชรบุรี และแขวงทุ่งพญาไท) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางเขน · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกะปิ, เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก และเขตคลองสาน · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตธนบุรี, เขตบางกอกใหญ่ และเขตราษฎร์บูรณะ · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตภาษีเจริญ, เขตหนองแขม และเขตบางขุนเทียน |
36 คน (12 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไทและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง (ยกเว้นแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) และเขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตพระโขนง (เฉพาะแขวงคลองตันและแขวงคลองเตย) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางเขน · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางกะปิ, เขตหนองจอก และเขตมีนบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางขุนเทียนและเขตราษฎร์บูรณะ · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม |
||
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต (ยกเว้นแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไทและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงสี่แยกมหานาคและแขวงสวนจิตรลดา) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง (ยกเว้นแขวงคลองตันและแขวงสวนหลวง) และเขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตพระโขนง (เฉพาะแขวงคลองตันและแขวงคลองเตย) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิ · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียนและเขตราษฎร์บูรณะ · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อยและเขตตลิ่งชัน · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขน (ยกเว้นแขวงสายไหม แขวงคลองถนน แขวงตลาดบางเขน และแขวงสีกัน) · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตหนองจอก, เขตมีนบุรี และเขตบางเขน (เฉพาะแขวงสายไหม แขวงคลองถนน แขวงตลาดบางเขน และแขวงสีกัน) |
37 คน (เขต 1–11 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 12–13 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท, เขตจตุจักร และเขตดอนเมือง (เฉพาะแขวงทุ่งสองห้อง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง, เขตลาดกระบัง และเขตประเวศ · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตคลองเตย · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา, เขตสาธร และเขตบางคอแหลม · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิ, เขตบึงกุ่ม และเขตลาดพร้าว · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตจอมทอง · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อย, เขตตลิ่งชัน และเขตบางพลัด · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขน, เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตดอนเมือง (ยกเว้นแขวงทุ่งสองห้อง) |
35 คน (ทุกเขต เขตละ 3 คน ยกเว้นเขต 8 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท, เขตจตุจักร และเขตลาดพร้าว · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง, เขตประเวศ และเขตสวนหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวาง, เขตคลองเตย (ยกเว้นแขวงคลองเตย) และเขตดินแดง · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา, เขตสาธร, เขตบางคอแหลม และเขตคลองเตย (เฉพาะแขวงคลองเตย) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิและเขตบึงกุ่ม · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตจอมทอง · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อย, เขตตลิ่งชัน และเขตบางพลัด · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขนและเขตดอนเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง |
37 คน (ทุกเขต เขตละ 3 คน ยกเว้นเขต 8 และเขต 13 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิต, เขตบางซื่อ และเขตราชเทวี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสัมพันธวงศ์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไท, เขตจตุจักร และเขตลาดพร้าว · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพระโขนง, เขตประเวศ และเขตสวนหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวาง, เขตคลองเตย (ยกเว้นแขวงคลองเตยและแขวงคลองเตยเหนือ) และเขตดินแดง · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตยานนาวา, เขตสาธร, เขตบางคอแหลม และเขตคลองเตย (เฉพาะแขวงคลองเตยและแขวงคลองเตยเหนือ) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางกะปิและเขตบึงกุ่ม · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตธนบุรีและเขตคลองสาน · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตบางขุนเทียน, เขตราษฎร์บูรณะ และเขตจอมทอง · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางกอกน้อย, เขตตลิ่งชัน และเขตบางพลัด · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางกอกใหญ่ และเขตหนองแขม · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขนและเขตดอนเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตมีนบุรี, เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง |
||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตพระนครและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตดุสิต · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตบางซื่อ · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพญาไทและเขตราชเทวี (เฉพาะแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตปทุมวันและเขตราชเทวี (เฉพาะแขวงถนนเพชรบุรีและแขวงมักกะสัน) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก และเขตสาทร (ยกเว้นแขวงทุ่งวัดดอน) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตยานนาวาและเขตสาทร (เฉพาะแขวงทุ่งวัดดอน) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตบางคอแหลม · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตคลองเตย · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตห้วยขวางและเขตวัฒนา (ยกเว้นแขวงพระโขนงเหนือ) · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตดินแดง · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตจตุจักร · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตหลักสี่ · เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตดอนเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตสายไหม · เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตบางเขน · เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตลาดพร้าว · เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตวังทองหลาง · เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตบางกะปิ · เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตบึงกุ่ม · เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตคันนายาวและเขตสะพานสูง · เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตบางนาและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตพระโขนงและเขตวัฒนา (เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ) · เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตลาดกระบังและเขตหนองจอก · เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตคลองสามวาและเขตมีนบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงหิรัญรูจีและแขวงวัดกัลยาณ์) · เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตคลองสานและเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงหิรัญรูจีและแขวงวัดกัลยาณ์) · เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงอรุณอมรินทร์) · เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงอรุณอมรินทร์) · เขตเลือกตั้งที่ 31 : เขตตลิ่งชันและเขตภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงคลองขวาง แขวงบางแวก และแขวงบางด้วน) · เขตเลือกตั้งที่ 32 : เขตบางกอกใหญ่และเขตภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงคลองขวาง แขวงบางแวก และแขวงบางด้วน) · เขตเลือกตั้งที่ 33 : เขตจอมทอง · เขตเลือกตั้งที่ 34 : เขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ · เขตเลือกตั้งที่ 35 : เขตบางขุนเทียนและเขตบางบอน · เขตเลือกตั้งที่ 36 : เขตบางแค (ยกเว้นแขวงหลักสอง) · เขตเลือกตั้งที่ 37 : เขตทวีวัฒนา, เขตหนองแขม และเขตบางแค (เฉพาะแขวงหลักสอง) |
37 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตดุสิตและเขตพระนคร (เฉพาะแขวงบวรนิเวศ แขวงตลาดยอด แขวงบ้านพานถม แขวงบางขุนพรหม และแขวงวัดสามพระยา) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตบางซื่อ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตพญาไทและเขตราชเทวี (เฉพาะแขวงทุ่งพญาไท) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตปทุมวันและเขตราชเทวี (ยกเว้นแขวงทุ่งพญาไท) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตบางรัก, เขตสัมพันธวงศ์, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตพระนคร (ยกเว้นแขวงบวรนิเวศ แขวงตลาดยอด แขวงบ้านพานถม แขวงบางขุนพรหม และแขวงวัดสามพระยา) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตสาทรและเขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางคอแหลม · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตคลองเตย · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตห้วยขวางและเขตวัฒนา (ยกเว้นแขวงพระโขนงเหนือ) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตดินแดง · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตจตุจักร · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตหลักสี่ · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตดอนเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตสายไหม · เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตบางเขน · เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตลาดพร้าว · เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตวังทองหลาง · เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตบางกะปิ · เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตบึงกุ่ม · เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตคันนายาวและเขตสะพานสูง · เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตบางนาและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตพระโขนงและเขตวัฒนา (เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ) · เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตลาดกระบังและเขตหนองจอก · เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตคลองสามวาและเขตมีนบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงหิรัญรูจีและแขวงวัดกัลยาณ์) · เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตคลองสานและเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงหิรัญรูจีและแขวงวัดกัลยาณ์) · เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงอรุณอมรินทร์) · เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงอรุณอมรินทร์) · เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตตลิ่งชันและเขตภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงคลองขวาง แขวงบางแวก และแขวงบางด้วน) · เขตเลือกตั้งที่ 31 : เขตบางกอกใหญ่และเขตภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงคลองขวาง แขวงบางแวก และแขวงบางด้วน) · เขตเลือกตั้งที่ 32 : เขตจอมทอง · เขตเลือกตั้งที่ 33 : เขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ · เขตเลือกตั้งที่ 34 : เขตบางขุนเทียนและเขตบางบอน · เขตเลือกตั้งที่ 35 : เขตบางแค · เขตเลือกตั้งที่ 36 : เขตหนองแขมและเขตทวีวัฒนา |
36 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตสัมพันธวงศ์, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตพระนคร, เขตดุสิต, เขตราชเทวี, เขตปทุมวัน และเขตบางรัก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตสาทร, เขตบางคอแหลม, เขตยานนาวา, เขตคลองเตย และเขตวัฒนา · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตดินแดง, เขตห้วยขวาง, เขตวังทองหลาง และเขตลาดพร้าว · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตพญาไท, เขตบางซื่อ, เขตจตุจักร และเขตหลักสี่ · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตดอนเมือง, เขตสายไหม และเขตบางเขน · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตบึงกุ่ม, เขตคันนายาว, เขตคลองสามวา และเขตหนองจอก · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตลาดกระบัง, เขตมีนบุรี, เขตสะพานสูง และเขตบางกะปิ · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตสวนหลวง, เขตประเวศ, เขตพระโขนง และเขตบางนา · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตคลองสาน, เขตธนบุรี, เขตบางกอกใหญ่ และเขตจอมทอง · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตราษฎร์บูรณะ, เขตทุ่งครุ, เขตบางขุนเทียน และเขตบางบอน · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตภาษีเจริญ, เขตบางแค และเขตหนองแขม · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตทวีวัฒนา, เขตตลิ่งชัน, เขตบางกอกน้อย และเขตบางพลัด |
36 คน (12 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์ และเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสาทร · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตบางคอแหลมและเขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตคลองเตยและเขตวัฒนา · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตราชเทวีและเขตดุสิต · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตพญาไทและเขตดินแดง · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตห้วยขวางและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงวังทองหลางและแขวงพลับพลา) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตลาดพร้าวและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงคลองเจ้าคุณสิงห์และแขวงสะพานสอง) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตจตุจักร · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตบางซื่อ · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตหลักสี่และเขตดอนเมือง (เฉพาะแขวงสนามบิน) · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตดอนเมือง (ยกเว้นแขวงสนามบิน) · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตสายไหม · เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตบางเขน · เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตบางกะปิ · เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตบึงกุ่มและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงรามอินทรา) · เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตมีนบุรีและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงคันนายาว) · เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตคลองสามวา · เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตหนองจอก · เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตสะพานสูงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตพระโขนงและเขตบางนา · เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตคลองสานและเขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงดาวคะนอง) · เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตจอมทองและเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงดาวคะนอง) · เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ · เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตบางขุนเทียน · เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตบางบอนและเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม) · เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตทวีวัฒนาและเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู) · เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตบางแค · เขตเลือกตั้งที่ 31 : เขตภาษีเจริญและเขตบางกอกใหญ่ · เขตเลือกตั้งที่ 32 : เขตตลิ่งชันและเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงบางขุนศรีและแขวงบ้านช่างหล่อ) · เขตเลือกตั้งที่ 33 : เขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงบางขุนศรีและแขวงบ้านช่างหล่อ) |
33 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงถนนนครไชยศรี) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตปทุมวัน, เขตบางรัก และเขตสาทร · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตบางคอแหลมและเขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตคลองเตยและเขตวัฒนา · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตดินแดง · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตราชเทวี, เขตพญาไท และเขตจตุจักร (เฉพาะแขวงจตุจักรและแขวงจอมพล) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางซื่อและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงถนนนครไชยศรี) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตลาดพร้าวและเขตวังทองหลาง (ยกเว้นแขวงพลับพลา) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตหลักสี่และเขตจตุจักร (ยกเว้นแขวงจตุจักรและแขวงจอมพล) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตดอนเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตสายไหม · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตบางเขน · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตบางกะปิและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงพลับพลา) · เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตบึงกุ่มและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงรามอินทรา) · เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตมีนบุรีและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงคันนายาว) · เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตคลองสามวา · เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตหนองจอก · เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตลาดกระบัง · เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตสะพานสูงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ) · เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตพระโขนงและเขตบางนา · เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตบางกอกใหญ่, เขตคลองสาน และเขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงดาวคะนอง แขวงบุคคโล และแขวงสำเหร่) · เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตจอมทองและเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงดาวคะนอง แขวงบุคคโล และแขวงสำเหร่) · เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ · เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตบางขุนเทียน · เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตบางบอนและเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม) · เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตทวีวัฒนา, เขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู) และเขตตลิ่งชัน (เฉพาะแขวงฉิมพลีและแขวงตลิ่งชัน) · เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตบางแค · เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน (ยกเว้นแขวงฉิมพลีและแขวงตลิ่งชัน) · เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตบางกอกน้อยและเขตบางพลัด |
30 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : เขตพระนคร, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงถนนนครไชยศรี) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : เขตราชเทวี, เขตปทุมวัน และเขตสาทร · เขตเลือกตั้งที่ 3 : เขตบางคอแหลมและเขตยานนาวา · เขตเลือกตั้งที่ 4 : เขตคลองเตยและเขตวัฒนา · เขตเลือกตั้งที่ 5 : เขตห้วยขวางและเขตวังทองหลาง (ยกเว้นแขวงคลองเจ้าคุณสิงห์) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : เขตดินแดงและเขตพญาไท · เขตเลือกตั้งที่ 7 : เขตบางซื่อและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงถนนนครไชยศรี) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : เขตจตุจักร (ยกเว้นแขวงจันทรเกษมและแขวงเสนานิคม) และเขตหลักสี่ (เฉพาะแขวงทุ่งสองห้อง) · เขตเลือกตั้งที่ 9 : เขตจตุจักร (เฉพาะแขวงจันทรเกษมและแขวงเสนานิคม), เขตบางเขน (เฉพาะแขวงอนุสาวรีย์) และเขตหลักสี่ (เฉพาะแขวงตลาดบางเขน) · เขตเลือกตั้งที่ 10 : เขตดอนเมือง · เขตเลือกตั้งที่ 11 : เขตสายไหม (ยกเว้นแขวงออเงิน) · เขตเลือกตั้งที่ 12 : เขตสายไหม (เฉพาะแขวงออเงิน), เขตบางเขน (เฉพาะแขวงท่าแร้ง) และเขตลาดพร้าว (เฉพาะแขวงจรเข้บัว) · เขตเลือกตั้งที่ 13 : เขตลาดพร้าว (เฉพาะแขวงลาดพร้าว) และเขตบึงกุ่ม (ยกเว้นแขวงคลองกุ่ม) · เขตเลือกตั้งที่ 14 : เขตบางกะปิและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงคลองเจ้าคุณสิงห์) · เขตเลือกตั้งที่ 15 : เขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม (เฉพาะแขวงคลองกุ่ม) · เขตเลือกตั้งที่ 16 : เขตคลองสามวา (ยกเว้นแขวงสามวาตะวันออกและแขวงทรายกองดินใต้) · เขตเลือกตั้งที่ 17 : เขตคลองสามวา (เฉพาะแขวงสามวาตะวันออกและแขวงทรายกองดินใต้) และเขตหนองจอก (ยกเว้นแขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี และแขวงโคกแฝด) · เขตเลือกตั้งที่ 18 : เขตหนองจอก (เฉพาะแขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี และแขวงโคกแฝด), เขตลาดกระบัง (เฉพาะแขวงลำปลาทิว) และเขตมีนบุรี (เฉพาะแขวงแสนแสบ) · เขตเลือกตั้งที่ 19 : เขตมีนบุรี (เฉพาะแขวงมีนบุรี) และเขตสะพานสูง (ยกเว้นแขวงทับช้าง) · เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว) · เขตเลือกตั้งที่ 21 : เขตสะพานสูง (เฉพาะแขวงทับช้าง) และเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงหนองบอน) · เขตเลือกตั้งที่ 22 : เขตสวนหลวงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงหนองบอน) · เขตเลือกตั้งที่ 23 : เขตพระโขนงและเขตบางนา · เขตเลือกตั้งที่ 24 : เขตคลองสาน, เขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงวัดกัลยาณ์ แขวงหิรัญรูจี และแขวงบางยี่เรือ) และเขตราษฎร์บูรณะ (เฉพาะแขวงบางปะกอก) · เขตเลือกตั้งที่ 25 : เขตทุ่งครุและเขตราษฎร์บูรณะ (เฉพาะแขวงราษฎร์บูรณะ) · เขตเลือกตั้งที่ 26 : เขตบางขุนเทียน (เฉพาะแขวงท่าข้าม) และเขตจอมทอง (ยกเว้นแขวงบางขุนเทียน) · เขตเลือกตั้งที่ 27 : เขตบางขุนเทียน (เฉพาะแขวงแสมดำ) และเขตบางบอน (เฉพาะแขวงบางบอนใต้และแขวงคลองบางบอน) · เขตเลือกตั้งที่ 28 : เขตจอมทอง (เฉพาะแขวงบางขุนเทียน), เขตบางบอน (เฉพาะแขวงคลองบางพรานและแขวงบางบอนเหนือ) และเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม) · เขตเลือกตั้งที่ 29 : เขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู) และเขตบางแค (เฉพาะแขวงบางไผ่และแขวงบางแคเหนือ) · เขตเลือกตั้งที่ 30 : เขตบางแค (เฉพาะแขวงหลักสองและแขวงบางแค) และเขตภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางหว้า แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง) · เขตเลือกตั้งที่ 31 : เขตทวีวัฒนาและเขตตลิ่งชัน (ยกเว้นแขวงบางเชือกหนัง) · เขตเลือกตั้งที่ 32 : เขตบางกอกใหญ่, เขตธนบุรี (เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์ แขวงหิรัญรูจี และแขวงบางยี่เรือ), เขตภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางหว้า แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง), เขตตลิ่งชัน (เฉพาะแขวงบางเชือกหนัง) และเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงศิริราช) · เขตเลือกตั้งที่ 33 : เขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงศิริราช) |
33 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518
เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 |
1 | พันเอก ประกอบ ประยูรโภคราช |
นายประทวน รมยานนท์ | |
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | |
2 | นายวีระ มุสิกพงศ์ |
นายดำรง ลัทธพิพัฒน์ | |
นายสมบุญ ศิริธร | |
3 | นายพิชัย รัตตกุล |
นายยวด เลิศฤทธิ์ | |
นายเล็ก นานา | |
4 | นายณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม |
นายประยูรศักดิ์ ชลายนเดชะ | |
นายแนบ ผ่องแผ้ว | |
5 | นายสิงห์โต จ่างตระกูล |
นายวิชิต วิเศษสุวรรณภูมิ | |
นายเจริญ คันธวงศ์ | |
6 | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
นายสมัคร สุนทรเวช | |
นายพิภพ อะสีติรัตน์ | |
7 | นางพรรณทิพา วัชโรบล |
นายเปลื้อง ณ นคร | |
พลเรือเอก หลวงชลธารพฤติไกร | |
8 | พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ |
นายทอง ธนกาญจน์ | |
นายธาดา สงวนพงษ์ | |
9 | นายสุดจิตต์ จำปีทอง |
นายเสริมชาติ ยามะรัตน์ |
ชุดที่ 12; พ.ศ. 2519
เขต | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 |
1 | นายสมัคร สุนทรเวช |
พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา | |
นายประเทศ รมยานนท์ | |
2 | นายวีระ มุสิกพงศ์ |
นายดำรง ลัทธพิพัฒน์ | |
นายสมบุญ ศิริธร | |
3 | นายเล็ก นานา |
นายพิชัย รัตตกุล | |
นายมยูร วิเศษกุล | |
4 | นายประยูรศักดิ์ ชลายนเดชะ |
นายณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม | |
นายแนบ ผ่องแผ้ว | |
5 | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช |
นายพิภพ อะสีติรัตน์ | |
นายกมล สมวิเชียร | |
6 | นายนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ |
นายทอง ธนกาญจน์ | |
พันตำรวจเอก วัชรี อุทัยเฉลิม | |
7 | นางพรรณทิพา วัชโรบล |
นายอาคม สรสุชาติ | |
นายพิสิษฐ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา | |
8 | นายชนะ รุ่งแสง |
นายบุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์ | |
นายสุชาติ อภัยวงศ์ | |
9 | นายสิงห์โต จ่างตระกูล |
นายสนอง ตู้จินดา | |
10 | นายเจริญ คันธวงศ์ |
นายวิชิต วิเศษสุวรรณภูมิ |
ชุดที่ 13; พ.ศ. 2522
เขต | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 |
1 | นายสมัคร สุนทรเวช |
นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์ | |
พลตรี ศิริ ถิรพัธน์ | |
2 | นายสนั่น ศิลปบรรเลง |
นายสังข์ชัย คามพิทักษ์ | |
นายชลินทร์ เผ่าวิบูล | |
3 | ร้อยตำรวจตรี สมศักดิ์ โปษยานนท์ |
นายธาดา เต็มบุญเกียรติ | |
นางวนิดา กุลามไมดินเซท | |
4 | นายวราพงษ์ พงษ์บริบูรณ์ |
นายสำอาง พ่วงรอด | |
ร้อยเอกประเคน รัตนพรรณา | |
5 | นายสุมิตร สุนทรเวช |
นายพิภพ อะสีติรัตน์ | |
นางเย็นจิตร ระพีพัฒน์ ณ อยุธยา | |
6 | พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ |
นายเสรี โหสกุล | |
นายอภิชัย ตรังคิณีนาถ | |
7 | นายวิจารณ์ ก้องสมุทร |
นายมุสิก จันเทรมะ | |
นายปรีชา เอสก้า | |
8 | นายสมชาติ ศรีพนา |
นายเมธินทร์ พันธุ์บุบผา (เสียชีวิต) | |
พลเรือเอก สนธิ บุณยะชัย (แทนนายเมทินทร์) | |
นายบูรณะศักดิ์ เทพาคำ | |
9 | นายณรงค์ บุญสิทธิ์ |
นายเชิดชัย เพชรพันธ์ | |
นายบุญช่วย สังข์รัศมี | |
10 | นายชัยทิพย์ น่วมทนง (เสียชีวิต) |
นายปลิว ม่วงศิริ (แทนนายชัยทิพย์) | |
นายวัชระ ประภาพัฒน์ | |
นายพิศาล ไชยชาญ | |
11 | หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช |
นายเกษม ศิริสัมพันธ์ |
ชุดที่ 14–15; พ.ศ. 2526–2529
ชุดที่ 16; พ.ศ. 2531
เขต | ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 | |
1 | นายสมัคร สุนทรเวช | |
นางลลิตา ฤกษ์สำราญ | ||
พลโท จิตรพล ณ ลำปาง | ||
2 | พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (ลาออก) | นายสุเทพ อัตถากร (แทนพลอากาศเอกสิทธิ) |
นายมารุต บุนนาค | ||
นายสุเทพ วงศ์กำแหง | ||
3 | นายบุญเทียม เขมาภิรัตน์ | |
นายประวิช รัตนเพียร | ||
นายทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ | ||
4 | นายมงคล กิมสูนจันทร์ | |
นายสมาน ใจปราณี | ||
นายพิศาล ไชยชาญ | ||
5 | นายอุดมศิลป์ ศรีแสงนาม | |
นายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา | ||
นายพิจิตต รัตตกุล | ||
6 | นายพิชัย รัตตกุล | |
นายประพันธ์ หุตะสิงห์ | ||
นายเจริญ คันธวงศ์ | ||
7 | นางเย็นจิตร ระพีพัฒน์ ณ อยุธยา | |
นายธำรงค์ แสงสุริยจันทร์ | ||
นายเชษฐ์ เชาว์วิศิษฐ | ||
8 | พลเรือเอก ศิริ ศิริรังษี | |
นายพีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ | ||
นายปราโมทย์ สุขุม | ||
9 | นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล | |
นายประเสริฐ ม่วงศิริ | ||
นายปกิต พัฒนกุล | ||
10 | นายอุส่าห์ สระมาลา | |
นายมานะศักดิ์ อินทรโกมาลย์สุต | ||
นายสุวัฒน์ นิงสานนท์ | ||
11 | ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง | |
นายวัชระ ประภาพัฒน์ | ||
นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ | ||
12 | นายสัญญา สถิรบุตร | |
นายสมุทร มงคลกิติ | ||
13 | นายสุมิตร สุนทรเวช | |
นางปวีณา หงสกุล |
ชุดที่ 17–18; พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
- พรรคประชากรไทย
- พรรคพลังธรรม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคมวลชน
- พรรคมวลชน → พรรคความหวังใหม่
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
ชุดที่ 24; พ.ศ. 2554
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 |
1 | นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ |
2 | นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ |
3 | หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล |
4 | นายอนุชา บูรพชัยศรี |
5 | นางสาวลีลาวดี วัชโรบล |
6 | นายธนา ชีรวินิจ |
7 | นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
8 | นายสรรเสริญ สมะลาภา |
9 | นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี |
10 | นายชื่นชอบ คงอุดม |
11 | นายสุรชาติ เทียนทอง |
12 | นายการุณ โหสกุล (พ้นสภาพตามคำพิพากษาของศาลฯ) |
นายแทนคุณ จิตต์อิสระ (แทนนายการุณ) | |
13 | นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ |
14 | นายอนุสรณ์ ปั้นทอง |
15 | นายณัฎฐ์ บรรทัดฐาน |
16 | นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ |
17 | นายวิชาญ มีนชัยนันท์ |
18 | นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ |
19 | นายไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ |
20 | นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ |
21 | นางนาถยา เบ็ญจศิริวรรณ |
22 | นายสามารถ มะลูลีม |
23 | นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ |
24 | นายสุรันต์ จันทร์พิทักษ์ |
25 | นางนันทพร วีรกุลสุนทร |
26 | นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
27 | นายสากล ม่วงศิริ |
28 | พันตำรวจเอก สามารถ ม่วงศิริ |
29 | นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
30 | นางอรอนงค์ คล้ายนก |
31 | นายวิลาศ จันทร์พิทักษ์ |
32 | นายชนินทร์ รุ่งแสง |
33 | นางสาวรัชดา ธนาดิเรก |
ชุดที่ 25; พ.ศ. 2562
เขต | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นางสาวกานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
2 | นางสาวพัชรินทร์ ซำศิริพงษ์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
3 | นางสาววรรณวรี ตะล่อมสิน |
4 | นางกรณิศ งามสุคนธ์รัตนา (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
5 | นายประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
6 | นางสาวภาดาท์ วรกานนท์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
7 | นางสาวธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ (พ้นสภาพตามคำพิพากษาของศาลฯ/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
8 | นายกษิดิ์เดช ชุติมันต์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
9 | นายสิระ เจนจาคะ (พ้นจากตำแหน่งตามคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ) |
นายสุรชาติ เทียนทอง (แทนนายสิระ) | |
10 | นายการุณ โหสกุล (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
11 | นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
12 | นายอนุสรณ์ ปั้นทอง |
13 | นางสาวฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
14 | นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ |
15 | นายชาญวิทย์ วิภูศิริ |
16 | นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ |
17 | นายศิริพงษ์ รัสมี |
18 | นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ |
19 | นายประสิทธิ์ มะหะหมัด (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
20 | ร้อยตำรวจตรี มณฑล โพธิ์คาย |
21 | นายสมเกียรติ ถนอมสินธุ์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
22 | นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร |
23 | นายโชติพิพัฒน์ เตชะโสภณมณี |
24 | นายทศพร ทองศิริ |
25 | นายณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ |
26 | นายวัน อยู่บำรุง |
27 | นายจิรวัฒน์ อรัณยกานนท์ (ลาออกจากพรรค/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
28 | นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ |
29 | นางสุภาภรณ์ คงวุฒิปัญญา |
30 | นายจักรพันธ์ พรนิมิตร (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
เขต | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายปารเมศ วิทยารักษ์สรรค์ |
2 | นางสาวธิษะณา ชุณหะวัณ |
3 | นายจรยุทธ จตุรพรประสิทธิ์ |
4 | นายภัณฑิล น่วมเจิม |
5 | นายเฉลิมชัย กุลาเลิศ |
6 | นายกันตภณ ดวงอัมพร |
7 | นางสาวภัสริน รามวงศ์ |
8 | นายชยพล สท้อนดี |
9 | นายศุภณัฐ มีนชัยนันท์ |
10 | นายเอกราช อุดมอำนวย |
11 | นางสาวศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ |
12 | นายภูริวรรธก์ ใจสำราญ |
13 | เรืออากาศโท ธนเดช เพ็งสุข |
14 | นางสาวสิริลภัส กองตระการ |
15 | นายวิทวัส ติชะวาณิชย์ |
16 | นางสาวพิมพ์กาญจน์ กีรติวิราปกรณ์ |
17 | นายวีรวุธ รักเที่ยง |
18 | นายธีรัจชัย พันธุมาศ |
19 | นายกันตพงษ์ ประยูรศักดิ์ |
20 | นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ |
21 | นายณัฐพงศ์ เปรมพูลสวัสดิ์ |
22 | นายสุภกร ตันติไพบูลย์ธนะ |
23 | นายปิยรัฐ จงเทพ |
24 | นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร |
25 | นางสาวแอนศิริ วลัยกนก |
26 | นายไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ |
27 | นายณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ |
28 | นางสาวรักชนก ศรีนอก |
29 | นางสาวทิสรัตน์ เลาหพล |
30 | นายธัญธร ธนินวัฒนาธร |
31 | นายสิริน สงวนสิน |
32 | นางสาวปวิตรา จิตตกิจ |
33 | นายพงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญ |
รูปภาพ
-
นายประทวน รมยานนท์
-
พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
-
นายดำรง ลัทธพิพัฒน์
-
นายพิชัย รัตตกุล
-
นายเล็ก นานา
-
นายเจริญ คันธวงศ์
-
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
-
นายสมัคร สุนทรเวช
-
พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
-
นายนิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์
-
พันเอกพิเศษ ถนัด คอมันตร์
-
พลเรือเอก สนธิ บุณยะชัย
-
นายเกษม ศิริสัมพันธ์
-
นายมารุต บุนนาค
-
พลเอก หาญ ลีนานนท์
-
นายคณิน บุญสุวรรณ
-
นายพิจิตต รัตตกุล
-
พลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา
-
นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
-
พันเอก ประจักษ์ สว่างจิตร
-
นายศุภชัย พานิชภักดิ์
-
นายปราโมทย์ สุขุม
-
นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
-
เรืออากาศตรี สุเทพ วงศ์กำแหง
-
นายอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
-
พลตรี จำลอง ศรีเมือง
-
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
-
นายถวิล ไพรสณฑ์
-
นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์
-
พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ
-
คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
-
นายสาวิตต์ โพธิวิหค
-
นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ
-
นายทักษิณ ชินวัตร
-
นางสาวศันสนีย์ นาคพงศ์
-
นายกันตธีร์ ศุภมงคล
-
นายโกวิทย์ ธารณา
-
นายห้างทอง ธรรมวัฒนะ
-
นายสมัย เจริญช่าง
-
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
-
นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
-
นายทิวา เงินยวง
-
นายประกอบ จิรกิติ
-
นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
-
นางกรรณิกา ธรรมเกษร
-
นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
-
นายอิสรา สุนทรวัฒน์
-
หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล
-
นายกรณ์ จาติกวณิช
-
นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ
-
นางสาวณหทัย ทิวไผ่งาม
-
นายยุรนันท์ ภมรมนตรี
-
นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์
-
นางสาวอรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์
-
นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน
-
นายสกลธี ภัททิยกุล
-
นายบุญยอด สุขถิ่นไทย
-
นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี
-
นายจิรายุ ห่วงทรัพย์
-
นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ
-
นายพนิช วิกิตเศรษฐ์
-
คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
-
นายสุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์
-
นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ
-
นางอรอนงค์ คล้ายนก
-
นางนันทพร วีรกุลสุนทร
-
นายธนา ชีรวินิจ
-
นายวัชระ เพชรทอง
-
นางสาวรัชดา ธนาดิเรก
-
นายอนุชา บูรพชัยศรี
-
นายสามารถ มะลูลีม
-
นายสรรเสริญ สมะลาภา
-
นายชนินทร์ รุ่งแสง
-
นางสาวลีลาวดี วัชโรบล
-
นายชื่นชอบ คงอุดม
-
พลตำรวจตรี นายแพทย์ สามารถ ม่วงศิริ
-
นายพลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ
-
นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์
-
นายวัน อยู่บำรุง
-
นายสุรชาติ เทียนทอง
-
นายแทนคุณ จิตต์อิสระ
-
นายสิระ เจนจาคะ
-
ร้อยตำรวจตรี มณฑล โพธิ์คาย
-
นายสมเกียรติ ถนอมสินธุ์
-
นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร
-
นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ
-
นายณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์
-
นายศุภณัฐ มีนชัยนันท์
-
นายธีรัจชัย พันธุมาศ
-
นายปิยรัฐ จงเทพ
-
นายไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์
-
นางสาวรักชนก ศรีนอก
-
นางสาวสิริลภัส กองตระการ
อ้างอิง
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ รัฐสภาไทย,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง (ครั้งที่ ๔),เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๐ ก, ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๒๔
แหล่งข้อมูลอื่น
- คณะกรรมการการเลือกตั้งกรุงเทพมหานคร เก็บถาวร 2012-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน