การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า 2535/2 มีขึ้นเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พรรคประชาธิปัตย์ได้ 79 ที่นั่ง จากทั้งหมด 360 ที่นั่ง ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของสภาจึงต้องตั้งรัฐบาลผสม ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคิดเป็น 61.6%[1]

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

← มีนาคม พ.ศ. 2535 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 →

ทั้งหมด 360 ที่นั่งในรัฐสภาไทย
ต้องการ 181 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก
ลงทะเบียน31,860,156
ผู้ใช้สิทธิ61.59% (เพิ่มขึ้น 2.35)
  First party Second party Third party
 
Chuan Leekpai 1999 cropped.jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ประมาณ อดิเรกสาร ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขตของผู้นำ 26 มกราคม 2534

ตรัง เขต 1

3 กรกฏาคม 2535

สระบุรี เขต 1

23 มิถุนายน 2535

นครราชสีมา เขต 1

เลือกตั้งล่าสุด 44 ที่นั่ง, 10.57% 74 ที่นั่ง, 16.41% 1 ที่นั่ง, 0.36%
ที่นั่งที่ชนะ 79 77 60
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 35 เพิ่มขึ้น 3 เพิ่มขึ้น 59
คะแนนเสียง 9,703,672 7,274,474 7,332,388
% 21.02 15.76 15.88
%เปลี่ยน เพิ่มขึ้น 10.45 จุด ลดลง 0.65 จุด เพิ่มขึ้น 15.52 จุด

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Carlos Menem with Chavalit Yongchaiyudh (cropped).jpg
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ จำลอง ศรีเมือง มนตรี พงษ์พานิช
พรรค ความหวังใหม่ พลังธรรม กิจสังคม
เขตของผู้นำ 16 ตุลาคม 2533

นนทบุรี เขต 1

9 มิถุนายน 2531

กรุงเทพมหานคร เขต 2

9 มิถุนายน 2534

อยุธยา เขต 1

เลือกตั้งล่าสุด 72 ที่นั่ง, 22.42% 41 ที่นั่ง, 11.47% 31 ที่นั่ง, 8.06%
ที่นั่งที่ชนะ 50 47 22
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 22 เพิ่มขึ้น 6 ลดลง 9
คะแนนเสียง 6,576,092 8,293,457 1,863,360
% 14.24 17.96% 4.04
%เปลี่ยน ลดลง 8.18 จุด เพิ่มขึ้น 6.49 จุด ลดลง 4.02 จุด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
รหัสสี: ประชาธิปัตย์, ชาติไทย, ชาติพัฒนา, ความหวังใหม่, พลังธรรม, กิจสังคม, เอกภาพ, อื่น ๆ
แต่ละจังหวัดอาจประกอบด้วยที่นั่งเดียวหรือหลายที่นั่งก็ได้ โดยสีที่ปรากฏนี้บ่งบอกถึงพรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในจังหวัดนั้น

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งครั้งนั้นนับการเลือกตั้งครั้งหนึ่งที่ผู้คนตื่นตัวเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น นับเป็นการสิ้นสุดของอำนาจเผด็จการทหาร โดย คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ที่เข้ามาด้วยการรัฐประหารในวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534

ผลการเลือกตั้ง พรรคประชาธิปัตย์ ที่ถือเป็นพรรคฝ่ายค้านที่คัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พลเอก สุจินดา คราประยูร สมาชิกของคณะ รสช. ที่มิได้มาจากการเลือกตั้ง ได้รับชัยชนะ ด้วยคะแนนเสียงที่ได้มาเป็นลำดับที่หนึ่ง ด้วยจำนวน 79 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งผสมด้วยพรรคการเมืองอีก 4 พรรค คือ พรรคความหวังใหม่, พรรคพลังธรรม, พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม มีจำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งหมดร้อยละ 42 นับว่ามากกว่าการเลือกตั้งก่อนหน้านั้น เมื่อเดือนมีนาคม ราวร้อยละ 5 มีจำนวนบัตรเสียคิดเป็นร้อยละ 1.27 และมีการรณรงค์การเลือกตั้งครั้งนั้นมิให้มีการทุจริต โดยคณะกรรมการองค์กรกลาง ใช้คำขวัญที่ว่า "ขายเสียง ขายสิทธิ เหมือนขายชีวิต ขายชาติ"[2] การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นครั้งล่าสุดที่พรรคประชาธิปัตย์ชนะการเลือกตั้ง

ผลการสำรวจ

แก้
ระยะเวลา

การสำรวจ

องค์กรที่สำรวจ ชวน จำลอง ชาติชาย ชวลิต
20 สิงหาคม-

2 กันยายน

นิด้าโพล[1] 25.7 30.0 14.4 5.6
2 กันยายน นิยมโพล[2] 31.6 24.9 22.7 15.0

ผลการเลือกตั้ง

แก้

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคที่สังกัด ณ วันที่ได้รับเลือกตั้ง

 •   ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
พรรค
คะแนนเสียง
%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ 9,703,672 21.02
79 / 360
ชาติไทย 7,274,474 15.76
77 / 360
ชาติพัฒนา 7,332,388 15.88
60 / 357
ความหวังใหม่ 6,576,092 14.24
50 / 360
พลังธรรม 8,293,457 17.96
47 / 360
กิจสังคม 1,863,360 4.04
22 / 360
เสรีธรรม
8 / 360
เอกภาพ
8 / 360
มวลชน
4 / 360
ประชากรไทย
3 / 360
ราษฎร
1 / 360
คะแนนสมบูรณ์ 100 360
คะแนนเสีย
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ที่มา: [3]

อ้างอิง

แก้
  1. Dieter Nohlen, Florian Grotz & Christof Hartmann (2001) Elections in Asia: A data handbook, Volume II, p286 ISBN 0-19-924959-8
  2. ประชาธิปัตย์ชนะการเลือกตั้ง, หน้า 225. กาลานุกรมสยามประเทศไทย 2485-2554 โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ISBN 978-974-228-070-3
  3. "รายละเอียดจากเว็บไซต์ myfirstinfo". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-26. สืบค้นเมื่อ 2012-02-09.

ดูเพิ่ม

แก้