จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [18] |
บัตรไม่ประสงค์ลงคะแนน |
บัตรเสีย |
ผู้มาใช้สิทธิ |
ผู้ไม่มาใช้สิทธิ |
จังหวัดผู้มาใช้สิทธิมากที่สุด |
จังหวัดผู้มาใช้สิทธิน้อยที่สุด
|
---|
43,024,042 คน (100.00%) |
3,426,080 คะแนน (16.69%) |
2,458,461 ใบ (11.97%) |
20,530,359คน (47.72%) |
22,494,427 คน (52.28%) |
จ.เชียงใหม่ 827,808 คน (75.05%) |
จ.นครศรีธรรมราช 1,302 คน (0.11%) *
|
- * หมายเหตุ: ไม่มีข้อมูลเนื่องจากสามารถเปิดให้ลงคะแนนได้ 3 เขต จากทั้งหมด 9 เขต[ต้องการอ้างอิง]
เขตเลือกตั้ง
แก้ไข
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยครั้งนี้ แบบแบ่งเขตลงคะแนนแบบ "เขตเดียวเบอร์เดียว" คือ แบ่งเขตเลือกตั้งเป็น 375 เขต โดยให้แต่ละเขตมีจำนวนประชากรที่ใกล้เคียงกันให้มากที่สุด ดังนั้น ในแต่ละเขตจะมีผู้แทนได้เขตละ 1 คนอย่างเท่าเทียมกัน และผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งสามารถเลือกผู้สมัครได้เพียงคนเดียว
นอกจากนั้น มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนเขตเลือกตั้งจากครั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี พ.ศ. 2554 ใน 2 จังหวัด ได้แก่จังหวัดนนทบุรีที่เดิมมี 6 เขตเลือกตั้ง เพิ่มเป็น 7 เขตเลือกตั้ง และจังหวัดสุโขทัยเขตเลือกตั้งลดลงจาก 4 เขตเลือกตั้ง เป็น 3 เขตเลือกตั้ง [19] [20] แต่ละจังหวัด มีจำนวนเขตเลือกตั้งดังต่อไปนี้ [21]
จำนวนเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด (สำหรับการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2557)พื้นที่ |
จำนวน
|
---|
กรุงเทพ |
33
| นครราชสีมา |
15
| อุบลราชธานี |
11
| เชียงใหม่, ขอนแก่น |
10
| อุดรธานี, นครศรีธรรมราช และบุรีรัมย์ |
9
| ชลบุรี, ร้อยเอ็ด, ศรีสะเกษ, สุรินทร์ และสงขลา |
8
| ชัยภูมิ, เชียงราย,นนทบุรี,สมุทรปราการ สกลนคร |
7
| นครสวรรค์, สุราษฎร์ธานี, ปทุมธานี, เพชรบูรณ์ และกาฬสินธุ์ |
6
| กาญจนบุรี, นครปฐม, พระนครศรีอยุธยา, พิษณุโลก, มหาสารคาม, ราชบุรี และสุพรรณบุรี |
5
| กำแพงเพชร, ฉะเชิงเทรา, ตรัง, นครพนม, นราธิวาส, ปัตตานี, ระยอง, ลพบุรี, ลำปาง, เลย และสระบุรี |
4
| กระบี่, จันทบุรี, ชุมพร, ตาก, น่าน, ประจวบคีรีขันธ์, ปราจีนบุรี, พะเยา, พัทลุง, พิจิตร, อุตรดิตถ์, เพชรบุรี , แพร่, ยโสธร, ยะลา, สมุทรสาคร, สระแก้ว, สุโขทัย, หนองคาย และหนองบัวลำภู |
3
| ชัยนาท, ภูเก็ต, มุกดาหาร, ลำพูน, สตูล, อ่างทอง, อำนาจเจริญ, อุทัยธานี และบึงกาฬ |
2
| ตราด, นครนายก, พังงา, แม่ฮ่องสอน, ระนอง, สิงห์บุรี และสมุทรสงคราม |
1
|
การย้ายเข้าสังกัดพรรค
แก้ไข
อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้ อดีตกรรมการบริหารพรรคที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี จากพรรคไทยรักไทย พรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย (บ้านเลขที่ 111 บ้านเลขที่ 109) ได้รับสิทธิทางการเมืองกลับคืนมาทั้งหมด
พรรคเพื่อไทย
แก้ไข
- นายสมศักดิ์ เทพสุทิน อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย สมาชิกบ้านเลขที่ 111
- นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน อดีตรัฐมนตรี สมาชิกบ้านเลขที่ 109
- นายเรืองศักดิ์ งามสมภาค ส.ส. บัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย
- นายอนุชา นาคาศัย สมาชิกบ้านเลขที่ 111 สามีนางพรทิวา นาคาศัย ส.ส. ชัยนาท พรรคภูมิใจไทย
- นางนันทนา สงฆ์ประชา ส.ส. ชัยนาท พรรคภูมิใจไทย
- นายมานิต นพอมรบดี ส.ส. ราชบุรี พรรคภูมิใจไทย
- นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา สมาชิกบ้านเลขที่ 109
- นางบุญยิ่ง นิติกาญจนา ส.ส. ราชบุรี พรรคภูมิใจไทย
- นายจักรวาล ชัยวิรัตน์นุกูล ส.ส. สุโขทัย พรรคภูมิใจไทย
- นายมนู พุกประเสริฐ ส.ส. สุโขทัย พรรคภูมิใจไทย
- นางสาวชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร ส.ส. ราชบุรี
- นายวุฒิชัย กิตติธเนศวร ส.ส. นครนายก
- นายประนอม โพธิ์คำ ส.ส. นครราชสีมา[22]
- นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์ ส.ส. นครราชสีมา
- นายโอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัย ส.ส. ชัยภูมิ
- นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ สมาชิกบ้านเลขที่ 111 สามีนางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ ส.ส. ศรีสะเกษ
- นางปารีณา ไกรคุปต์ ส.ส. ราชบุรี[23]
- นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร ส.ส. พระนครศรีอยุธยา[24]
- นายพลพีร์ สุวรรณฉวี ส.ส. นครราชสีมา[25]
- นายมุข สุไลมาน อดีต ส.ส. ปัตตานี
- นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ อดีต ส.ส. นราธิวาส
- นายนัจมุดดีน อูมา อดีต ส.ส. นราธิวาส
- นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ อดีตรัฐมนตรี
- นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ อดีต ส.ส. ศรีสะเกษ
- นายอุดร ทองประเสริฐ อดีต ส.ส. อุบลราชธานี
พรรคชาติไทยพัฒนา
แก้ไข
- นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์ อดีตรัฐมนตรี
- นายเอกภาพ พลซื่อ อดีต ส.ส. ร้อยเอ็ด
- นางรัชนี พลซื่อ อดีต ส.ส. ร้อยเอ็ด
- นายรณฤทธิชัย คานเขต อดีต ส.ส. ยโสธร
- นายอลงกต มณีกาศ อดีต ส.ส. นครพนม
- นายอนุมัติ ซูสารอ ส.ส. ปัตตานี
- นายศุภรักษ์ ควรหา อดีต ส.ส. สุรินทร์
พรรคชาติพัฒนา
แก้ไข
- นายนคร มาฉิม ส.ส. พิษณุโลก
- นายปัญญา จีนาคำ อดีต ส.ส. แม่ฮ่องสอน
การเพิกถอนการเลือกตั้ง
แก้ไข
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ถูกเพิกถอน หลังจากกิตติพงศ์ กมลธรรมวงศ์ อาจารย์วิชากฎหมายสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เสนอว่า ควรยกเลิกการเลือกตั้ง อย่างไรก็ดี ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจยื่นคำร้องเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายเท่านั้น ไม่อาจยื่นคำร้องเกี่ยวกับการเลือกตั้งได้ ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญแทน โดยยื่นคำร้องเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2557[30][31] ต่อมาวันที่ 21 มีนาคม 2557 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงหกต่อสามว่า เมื่อพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎรกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 แต่การเลือกตั้งไม่สามารถแล้วเสร็จทั่วประเทศภายในวันดังกล่าวได้ พระราชกฤษฎีกาจึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 108 วรรคสอง ที่กำหนดให้การเลือกตั้งต้องเป็นวันเดียวกันทั่วประเทศ และเมื่อพระราชกฤษฎีกาในส่วนที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งนี้จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญไปด้วย[32][33][34]
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๖, เล่ม ๑๓๐, ตอน ๑๑๕ ก, ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖, หน้า ๑-๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, เล่ม ๑๓๐, ตอน ๑๑๙ ก, ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖, หน้า ๒๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง กำหนดวันและเวลาลงคะแนนเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้ง ณ ที่เลือกตั้งกลาง, เล่ม ๑๓๐, ตอน ๑๑๙ ก, ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖, หน้า ๒๔
- ↑ "Academics brand people's council 'fascism'". The Bangkok Post. 6 February 2013. สืบค้นเมื่อ 13 January 2014.
- ↑ "Thailand's anti-democracy protests should provoke a harsh rebuke from the U.S." The Washington Post. 6 February 2014. สืบค้นเมื่อ 22 January 2014.
- ↑ กปปส.ขวางเขตดินแดง กระจายหีบ-บัตรเลือกตั้งไม่ได้ ′บางกะปิ′ 25 หน่วยเลือกตั้งเอกชนไม่ให้ใช้พื้นที่, ประชาชาติธุรกิจ, 6 กุมภาพันธ์ 2557
- ↑ เลือกตั้งใต้ป่วน!กปปส.ยังล้อมสถานที่เก็บบัตรเลือกตั้ง[ลิงก์เสีย], โพสต์ทูเดย์, 6 กุมภาพันธ์ 2557
- ↑ กกต.ยังไม่ประกาศผลเลือกตั้งรอรวมคะแนนหลัง23ก.พ[ลิงก์เสีย], โพสทูเดย์, 6 กุมภาพันธ์ 2557
- ↑ 'มาร์ค'แจงยิบมติปชป.ไม่ลงเลือกตั้ง เหตุการเมืองล้มเหลว, ไทยรัฐ, 6 กุมภาพันธ์ 2557
- ↑ เปิดยอดผู้ใช้สิทธิเลือกตั้ง68จังหวัด[ลิงก์เสีย], โพสต์ทูเดย์, 4 กุมภาพันธ์ 2557
- ↑ เปิด คำวินิจฉัยกลาง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เลือกตั้ง 2 ก.พ. โมฆะ เก็บถาวร 2015-11-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. มติชน. สืบค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2557.
- ↑ เลือกตั้ง2กพ.ไม่โมฆะ! กกต.เผยทีมกม.ชี้คำวินิจฉัยศาลรธน.ระบุแค่ขัดรธน.. มติชน. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2557.
- ↑ Peel, Michael (2013-12-09). "Snap poll fails to halt Thailand street protests". FT.com. สืบค้นเมื่อ 2014-01-23.
- ↑ "Thai prime minister calls early elections". Al Jazeera English. สืบค้นเมื่อ 2014-01-23.
- ↑ "Thai PM refuses to step down". Al Jazeera English. สืบค้นเมื่อ 2014-01-23.
- ↑ "Suthep says protesters will not blockade polling units on February 2". Asian Inter Law News. 31 January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-01. สืบค้นเมื่อ 1 February 2014.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔ เก็บถาวร 2011-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๘, ตอน ๑๓ก, ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔, หน้า ๑
- ↑ สถิติเลือกตั้ง 2557 อย่างเป็นทางการ คนใช้สิทธิ์ 20 ล้าน โหวตโนพุ่ง 16.69%
- ↑ เดลินิวส์. "กกต.ประกาศแบ่งเขตเลือกตั้งแต่ละจังหวัดแล้ว" [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] 2556. 21 ธันวาคม 2556.
- ↑ ทำความรู้จัก375เขต. เดลินิวส์. (13 พฤษภาคม 2554). สืบค้น 16-5-2554.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จานวนราษฎร จำนวนเขตเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดและท้องที่ที่ประกอบเป็นเขตเลือกตั้ง, เล่ม ๑๓๐, ตอน ๑๑๙ ก, ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖,
- ↑ "พท.คึก!วางตัว ส.ส. อีสาน "แม้ว"ส่งคนประกบจับตาใกล้ชิด". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2013-12-22.
- ↑ “ตือ” ท่องบทเลือกตั้ง จี้สองฝ่ายเจรจา ชูนโยบายปรองดอง ปฏิรูปประเทศ - “ปารีณา” ลาออกซบ พท.[ลิงก์เสีย]
- ↑ พท.หวัง"เกื้อกูล"ช่วยได้สส.อยุธยายกจังหวัด[ลิงก์เสีย]
- ↑ ‘วรรณรัตน์’ยันชาติพัฒนาเดินหน้าลต. พร้อมลงสัตยาบันปฏิรูปปท. ‘พลพีร์’ หนีซบพท.อีกคน
- ↑ "'วาดะห์'ลงสมัครส.ส. 5เขต3จ.ชายแดนใต้". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-22. สืบค้นเมื่อ 2013-12-22.
- ↑ 'พินิจ' ปัดย้ายพรรค ซบ 'ชาติไทยพัฒนา'
- ↑ ชทพ.ปฐมนิเทศว่าที่ผู้สมัคร ส.ส. เน้นหาเสียงสร้างสามัคคี[ลิงก์เสีย]
- ↑ สุนารี ราชสีมา - นคร มาฉิม สวมเสื้อชาติพัฒนา ลงสมัครสส.
- ↑ "ผู้ตรวจการแผ่นดินชงคำร้อง "กิตติพงศ์" อาจารย์นิติ มธ. ให้ศาล รธน. วินิจฉัยเลือกตั้ง 2 ก.พ. โมฆะ". Bangkok Biz News. 2014-03-06. สืบค้นเมื่อ 2014-03-23.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "สับคำวินิจฉัย ตลก. 'โมฆะ' 'นอก รธน.' 'นำสู่ความรุนแรง'". Prachatai. 2014-03-23. สืบค้นเมื่อ 2014-03-23.
- ↑ "มติศาล รธน. 6 ต่อ 3 ชี้การเลือกตั้ง 2 ก.พ. เป็นโมฆะ". Manager. 2014-03-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-22. สืบค้นเมื่อ 2014-03-21.
- ↑ "Court voids Feb 2 general election". Bangkok Post. 2014-03-21. สืบค้นเมื่อ 2014-03-21.
- ↑ Amy Sawitta Lefevre (2014-03-21). "Thailand in limbo after election annulled; economy suffering". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-22. สืบค้นเมื่อ 2014-03-21.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้ไข
|