บ้านเลขที่ 111

บ้านเลขที่ 111 เป็นคำศัพท์ทางการเมืองไทย ที่ใช้เรียกอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย จำนวน 111 คน ที่ถูกเพิกถอนสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ตามคำวินิจฉัยในคดียุบพรรคการเมือง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ที่ได้รับการแต่งตั้งโดย คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ซึ่งกระทำรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549

รายนามอดีตคณะกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยแก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

แก้ไข

มูลนิธิ 111 ไทยรักไทยแก้ไข

ต่อมา กลุ่มบ้านเลขที่ 111 ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ เพื่อก่อตั้งมูลนิธิ 111 ไทยรักไทย เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ที่ทำการตั้งอยู่เลขที่ 444/1 ถนนนครสวรรค์ แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร[1]โดยมีวัตถุประสงค์ในการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ตอบแทนแก่สังคมและประชาชน ที่เคยมอบความไว้วางใจแก่กลุ่มบุคคลดังกล่าว ให้ปฏิบัติภารกิจบริหารประเทศ ในฐานะรัฐมนตรี คณะที่ 54, 55 ของไทย และในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ชุดที่ 21, 22 ของไทย ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2549[ต้องการอ้างอิง]

คณะกรรมการมูลนิธิแก้ไข

คณะกรรมการในวาระเริ่มแรกแก้ไข

การจัดการมูลนิธิในวาระเริ่มแรก มีคณะกรรมการดำเนินงาน 11 คน คือ[2]

คณะกรรมการดำเนินการแก้ไข

ตามความในเอกสาร ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ ทะเบียนเลขที่ 1712

บทบาททางการเมืองในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิ์แก้ไข

บทบาททางการเมืองหลังครบกำหนดโทษแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข