เขตคลองสาน

เขตในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

คลองสาน เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี

เขตคลองสาน
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันKhet Khlong San
จากซ้ายไปขวา บนลงล่าง:
คำขวัญ: 
แผ่นดินพระเจ้าตากสิน ถิ่นเดิมผลไม้ดัง
ติดฝั่งเจ้าพระยา โบราณสถานเด่นสง่า
อุทยานสมเด็จย่ารวมใจ
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตคลองสาน
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตคลองสาน
พิกัด: 13°43′49″N 100°30′35″E / 13.73028°N 100.50972°E / 13.73028; 100.50972
ประเทศ ไทย
เขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด6.051 ตร.กม. (2.336 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)[2]
 • ทั้งหมด64,961 คน
 • ความหนาแน่น10,735.58 คน/ตร.กม. (27,805.0 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์10600
รหัสภูมิศาสตร์1018
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 861 ถนนลาดหญ้า แขวงคลองสาน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600
เว็บไซต์www.bangkok.go.th/khlongsarn
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ที่ตั้งและอาณาเขต

แก้

เขตคลองสานตั้งอยู่บริเวณตะวันออกสุดของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ประวัติศาสตร์

แก้

เขตคลองสานเดิมมีฐานะเป็น อำเภอบางลำภูล่าง อยู่ในเขตปกครองของจังหวัดธนบุรี และได้เปลี่ยนชื่อเป็น กิ่งอำเภอบุปผาราม

ต่อมาในพื้นที่กิ่งอำเภอบุปผารามมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2500 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกาตั้ง อำเภอคลองสาน ขึ้น

ครั้นใน พ.ศ. 2514 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและมีฐานะเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอคลองสานจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตคลองสาน

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

เขตคลองสานแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง ได้แก่

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2566)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2566)
แผนที่
1.
สมเด็จเจ้าพระยา Somdet Chao Phraya
1.317
11,444
8,689.45
 
2.
คลองสาน Khlong San
0.727
13,160
18,159.27
3.
บางลำภูล่าง Bang Lamphu Lang
2.234
22,471
10,058.64
4.
คลองต้นไทร Khlong Ton Sai
1.773
17,886
10,087.99
ทั้งหมด
6.051
64,961
10,735.58

ประชากร

แก้

สถานที่สำคัญ

แก้
 
บ้านหวั่งหลี
 
ไอคอนสยาม

ระบบขนส่งมวลชน

แก้

สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

แก้

มี 2 สะพาน คือ

ทัศนียภาพ

แก้
ทัศนียภาพกรุงเทพมหานครเขตคลองสาน (ซ้ายมือ) และเขตบางรัก (ขวามือ) จากสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในปี พ.ศ. 2564

อ้างอิง

แก้
  1. "ลักษณะภูมิประเทศและเขตการปกครอง". สำนักงานเขตคลองสาน. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-30. สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php เก็บถาวร 2020-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. สืบค้น 26 มกราคม 2567.
  3. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้