รายการเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

สายการเดินรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี นครปฐม) แบ่งเป็นเส้นทางรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีทั้งหมด 8 เขตการเดินรถ จำนวน 123 เส้นทาง, เส้นทางรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ จำนวน 115 เส้นทาง และเส้นทางที่มีรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ และรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ ให้บริการร่วมกัน จำนวน 26 เส้นทาง[1] รวมทั้งหมด 214 เส้นทาง โดยเริ่มให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 03:30-23:25 น. และยุติการให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 23:30-03:25 น. นอกจากนี้ ยังมีรถให้บริการตลอดคืน ซึ่งจะคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มจากปกติ[2]

รถเมล์ ขสมก. และเครือไทยสมายล์บัส ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รายชื่อสายรถโดยสารประจำทาง

แก้

ตารางที่จะแสดงต่อจากนี้ จะแบ่งแยกด้วยการใช้สีต่าง ๆ กล่าวคือ

  • เขตการเดินรถที่ 1 แทนด้วย สีม่วง
  • เขตการเดินรถที่ 2 แทนด้วย สีเขียว
  • เขตการเดินรถที่ 3 แทนด้วย สีแดง
  • เขตการเดินรถที่ 4 แทนด้วย สีส้ม
  • เขตการเดินรถที่ 5 แทนด้วย สีชมพู
  • เขตการเดินรถที่ 6 แทนด้วย สีเหลือง
  • เขตการเดินรถที่ 7 แทนด้วย สีน้ำเงิน
  • เขตการเดินรถที่ 8 แทนด้วย สีน้ำตาล
  • เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครืออื่นๆ) แทนด้วย สีกรมท่า
  • เส้นทางของ บจก.สมาร์ทบัส (ในเครือ บจก.ไทยสมายล์บัส) แทนด้วย สีฟ้า
  • เส้นทางของรถเอกชน แทนด้วย สีดำ
  • เส้นทางของรถหมวด 4 ภายใต้สัญญารถร่วมบริการ ขสมก. แทนด้วย สีแดงเข้ม
  • เส้นทางของกองทัพอากาศ แทนด้วย สีน้ำเงินเข้ม
  • เส้นทางของ กทม. แทนด้วย สีเขียวอ่อน
  • เส้นทางของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แทนด้วย สีชมพูอ่อน
  • เส้นทางของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) แทนด้วย สีทอง

ในกรณีที่มีวงเล็บด้านหลังเลขสาย ในกรณีของเส้นทางเดินรถขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แบ่งเป็น 3 กรณีคือ สายที่ยังใช้เลขสายเดิม หมายถึง กลุ่มปฏิบัติการเดินรถ เช่น 505 (3) หมายถึง สายที่ 505 อยู่ในเขตการเดินรถที่ 7 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 3 อีกกรณีหนึ่งคือ สายที่ใช้เลขสายเดิมควบคู่กับเลขสายใหม่ในการปฏิรูป 269 เส้นทางของกรมการขนส่งทางบกและกลุ่มปฏิบัติการเดินรถ เช่น 510 (1-19) (2) หมายถึง สายที่ 510 จะใช้เลขสายปฏิรูป 1-19 อยู่ในเขตการเดินรถที่ 1 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 2 ส่วนอีกกรณีหนึ่งคือ สายที่ใช้เลขสายใหม่ หมายถึง เลขสายเดิมหรือสายเทียบเคียงของสายนั้นและกลุ่มปฏิบัติการเดินรถ เช่น 3-19E (145E) (3) หมายถึง สายที่ 3-19E เดิมใช้เลขสาย 145E อยู่ในเขตการเดินรถที่ 3 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 3 ส่วนในกรณีรถเอกชน แบ่งเป็น 2 กรณีคือ สายที่ยังใช้เลขสายเดิม หมายถึง เลขสายใหม่ในการปฏิรูป 269 เส้นทางของกรมการขนส่งทางบก เช่น 39 (1-5) หมายถึง สายที่ 39 จะใช้เลขสายปฏิรูป 1-5 ส่วนอีกกรณีหนึ่งคือ สายที่ใช้เลขสายใหม่ หมายถึง เลขสายเดิมของสายนั้น เช่น 1-1 (29) หมายถึง สายที่ 1-1 เดิมใช้เลขสาย 29

เส้นทางรถประจำทางเชื่อมท่าอากาศยาน

แก้

เส้นทางทุกเส้นทางในหมวดนี้ขึ้นทางด่วน

  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
A1 (1)   ท่าอากาศยานดอนเมือง   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ไฮบริด)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (โทลล์เวย์) (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านลาดพร้าว)
ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท (15 บาท สำหรับช่วงจตุจักร - หน้าหมอชิต 2)
A3 (1) สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถบริการทางด่วน (โทลล์เวย์) (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านดินแดง)

ค่าโดยสาร คนละ 50 บาท (15 / 20 บาท สำหรับช่วงดินแดง - สวนลุมพินี)

A4 (1) สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถบริการทางด่วน (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ (โทลล์เวย์) ลงด่านยมราช)

ค่าโดยสาร คนละ 50 บาท (15 / 20 บาท สำหรับช่วงยมราช - สนามหลวง)

S1 (3)   ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางพิเศษศรีรัช ลงด่านยมราช

ค่าโดยสาร คนละ 60 บาท (13 / 15 บาท สำหรับช่วงยมราช - สนามหลวง)

มีรถให้บริการน้อย

เส้นทางตามใบอนุญาตเดิม (รวมถึงเส้นทางที่เดินรถตามคำสั่งมาตรา 41[note 1])

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1   ถนนตก   ท่าเตียน 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กันยายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ธรรมดาใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1 (เดิม) ถนนตก-ท่าเตียน
1 สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.เกลียวเวิลด์ วนซ้ายรอบสนามหลวง ผ่านท่าพระจันทร์ ท่าช้าง ท่าเตียน วัดโพธิ์ แล้วกลับเข้าสู่เส้นทางเดิม
2 สำโรง สำนักงานที่ดินกรุงเทพฯ บจก.บ้านทองบัส
บจก.รูธ 45
ปลายทางอยู่ที่บริเวณริมคลองคูเมืองเดิม ใกล้กับ สะพานปีกุน หากต้องการไปปากคลองตลาด จะต้องเดินเท้าอีกประมาณ 1 กิโลเมตร
4   ท่าเรือคลองเตย   ท่าน้ำภาษีเจริญ บจก.เกลียวเวิลด์ มีรถให้บริการน้อย
5 (1)   อู่กำแพงเพชร สะพานพระพุทธยอดฟ้า 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ในอดีตเดินรถโดยเอกชน

มีรถให้บริการน้อย

8 ตลาดแฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.กลุ่ม 39 เดินรถ ดูบทความหลักที่: รถโดยสารประจำทางสาย 8
11 ซอยอ่อนนุช 80 ประตูน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีเหลือง บจก.ทีบัสทรานสปอร์ต
บจก.วินวินเอ็นจีวี
12 ตลาดห้วยขวาง ปากคลองตลาด 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.เทพประทานพรทรานสปอร์ต
20 (4-4) (1) ป้อมพระจุลจอมเกล้า   ท่าน้ำท่าดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. มีให้บริการเพียงรอบเดียวในช่วงเช้า โดยรถจะออกจากท่าดินแดงในเวลา 06:10 น. (หยุดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์)
20 (1)   ท่าน้ำพระสมุทรเจดีย์
ปากน้ำ รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านราชประชา ลงทางด่วนด่านช้างสามเศียร)

มีรถให้บริการน้อย

20 บิ๊กซีสุขสวัสดิ์   ท่าน้ำท่าดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.เกลียวเวิลด์ มีรถให้บริการน้อย
27   มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กันยายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 27 (เดิม) มีนบุรี-จตุจักร-อนุสาวรีย์ชัย
27 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน

2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู

บจก.สามัคคีบัส ใช้เส้นทางถนนเสรีไทย

ส่วนใหญ่เสริม แฮปปี้แลนด์ และยังมีรถเสริม "เดอะมอลล์บางกะปิ - เซ็นทรัลลาดพร้าว" ให้บริการในบางคัน

แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.ซี.ที.วิเศษทรานสปอร์ต
34   รังสิต   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 เมษายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 34 (เดิม) รังสิต-หัวลำโพง

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

BTS แยก คปอ. 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า) วันที่ 7 เมษายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ธรรมดาใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 34 (เสริม) รังสิต-BTS แยก คปอ.
34 ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.เกลียวเวิลด์
38 มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 แยกอโศกมนตรี 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.บริบูรณ์อินฟินิตี้ มีรถให้บริการน้อย
39   ตลาดไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 เมษายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 39 (เดิม) ตลาดไท-อนุสาวรีย์ชัย

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

59 (3)   อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ผ่านจตุจักร สะพานควาย กิ่งเพชร ถ.หลานหลวง

รถบริการทางด่วนเที่ยวกลับ (ขึ้นทางด่วนด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (เกาะพหลโยธิน) ลงด่านถนนแจ้งวัฒนะ) เฉพาะรถปรับอากาศในช่วงเวลาเร่งด่วน มี 2 คัน ออกจากท่ารถสนามหลวง ฝั่งอนุสาวรีย์ทหารอาสาผ่านศึก เวลา 16.30 น. และ 17.30 น.

สวนหลวงพระราม 8 รถให้บริการในช่วงเวลาเร่งด่วน
พาต้าปิ่นเกล้า รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านถนนแจ้งวัฒนะ ลงด่านยมราช)
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 รถให้บริการในช่วงเช้า
สนามหลวง รถให้บริการในช่วงบ่าย
63 (2)   MRT-ท่าเรือพระนั่งเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 11 กันยายน 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU กลับมาให้บริการในเส้นทางสาย 63(เดิม) MRT-ท่าเรือพระนั่งเกล้า-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
64 (2) กระทรวงพาณิชย์ สะพานพระปิ่นเกล้า 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 2 ตุลาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU กลับมาให้บริการในเส้นทางสาย 64(เดิม) กระทรวงพาณิชย์-สะพานพระปิ่นเกล้า

มีรถให้บริการเพียงคันเดียว

68 (3) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน สถานี BRT ราชพฤกษ์ ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

มีรถให้บริการน้อย

เดิมใช้เลขสาย 68ก

คลองพิทยาลงกรณ์ เดอะมออล์ท่าพระ ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง

มีเฉพาะในงานเทศกาล "กินปูดูเล" เท่านั้น

มีรถให้บริการน้อย

สมุทรสาคร บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขาไป ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน

ขากลับ ใช้ป้ายหน้ารถสีเขียว

ในอดีตเดินรถโดยเอกชน

71 ตลาดปัฐวิกรณ์ วัดธาตุทอง 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.บ้านโป่งบัสบอดี้
บจก.รูท 45
บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.สามัคคีบัส
บจก.วินวินเอ็นจีวี
บจก.มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด
รถมินิบัส วิ่งผ่านการเคหะแห่งชาติ
74 ตลาดห้วยขวาง คลองเตย บจก.รูท 45
บจก.เทพประทานพรทรานสปอร์ต
บจก.เนื้อทองทรานสปอร์ต
บจก.ยูทีบี ทรานสปอร์ต
บจก.ใช้จึงเจริญกิจ
82   ท่าน้ำพระประแดง พาหุรัด บจก.เกลียวเวิลด์
บจก.รูท 45
บจก.ทเวนตี้บัส
ใช้เส้นทางถนนสุขสวัสดิ์
88   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน ลาดหญ้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กันยายน​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 88 (เดิม) มจธ.บางขุนเทียน-ลาดหญ้า
90 ปทุมธานี BTS หมอชิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า บจก.บัส 90 มีรถให้บริการน้อย
91 (3) หมู่บ้านเศรษฐกิจ (โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี) สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก.
91ก (3) สนามหลวง 2 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เขตการเดินรถที่ 6 ได้ทำการขยายเส้นทางเดินรถ สาย 91ก (จากเดิมที่วิ่งแค่ ม.กรุงเทพธนบุรี-สนง.เขตบางกอกใหญ่) เปลี่ยนเป็น "ม.กรุงเทพธนบุรี-สนามหลวง" เพื่อให้เป็นไปตามเส้นทางที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตเดินรถ (สัมปทาน) ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563 เป็นต้นไป
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่ เป็นเส้นทางเสริมพิเศษ

ผ่านถนนเลียบคลองทวีวัฒนา

92 แยกคลองตัน (ซอยพัฒนาการ 25) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน บจก.ซัคเซสบัสเซอร์วิส
บจก.สหมีชัยขนส่งฃ
เดิมเคยให้บริการถึงโรงพยาบาลรามาธิบดี (เฉพาะรถบริษัท เทพนิรมิตขนส่ง จำกัด)
98 ตลาดห้วยขวาง ไบเทค บางนา 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.สหศรีสุพรรณยานยนต์ เส้นทางส่วนใหญ่เดินรถเพียงแค่ แยกอโศก-แยกอุดมสุข

ในช่วงหนึ่งสาย 98 ก็เคยนำรถขาว-น้ำเงิน กลับมาทำสีครีมแดงแล้ว​เคยให้บริการถึงอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในช่วงปี พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549

  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
107 (1)   อู่บางเขน คลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางไม่ขึ้นทางด่วน ผ่านประตูน้ำ สวนลุมพินี
134 (1)   บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ)   สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ โดยรถจะออกจากอู่บัวทองเคหะในเวลา 06.00 น.
166 (1) เมืองทองธานี ปากเกร็ด
178 (3) แยกนวมินทร์-ประเสริฐมนูกิจ แยกเกษตร เส้นทางผ่านถนนประเสริฐมนูกิจตลอดทั้งสาย ไม่ผ่านนวลจันทร์
182   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.กระแสร์เงินยานยนต์ รถส่วนใหญ่เสริม เซ็นทรัลลาดพร้าว - ม.ราม 1
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
203 (2-23) บัวทองเคหะ สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
2.รถโดยสารประจำทางสีส้ม
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีเหลือง
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า
บจก.บางกอก 118 ให้บริการในช่วงเวลา 05.00
ท่าอิฐ ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7
205 (1)   อู่คลองเตย ศูนย์การค้าเดอะมอลล์ ท่าพระ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. กลับมาให้บริการด้วยรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ให้บริการในรูปแบบรถเมล์เร็วพิเศษ ขึ้นสะพานพระราม 3

ตลาดคลองเตย แยกถนนตก เป็นเส้นทางเสริมให้บริการระหว่างวัน

กลับรถที่หัวถนนพระรามที่ 3

  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
511 (2)     อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. มีรถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงด่านเพชรบุรี)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.11

517   สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 25 พฤศจิกายน​ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-56(517 เดิม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง-หมอชิต 2 เพื่อลดผลกระทบจากการที่ไม่มีรถจากลาดกระบังไปหมอชิต 2 ในต่อเดียว (ใช้เลขสาย 517X)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 และ 8

520 (2)   อู่มีนบุรี ตลาดไท 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เดิมใช้เลขสาย ปอ.21

ในอดีตเดินรถถึงมหาวิทยาลัยรามคำแหง และเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี รถออกจากอู่สวนสยาม รับคนป้ายแรกที่โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
543 (1)   อู่บางเขน กรมการปกครอง คลอง 9 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

มีให้บริการในช่วงเวลาเร่งด่วนเฉพาะช่วงเช้า-เย็น ของวันจันทร์-ศุกร์

555 (3)   อู่รังสิต   ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางพิเศษศรีรัช และทางพิเศษเฉลิมมหานคร ลงด่านดินแดง

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท

สายปฏิรูป

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1-71   เคหะฉลองกรุง มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ธรรมดา ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-71 เคหะฉลองกรุง-มีนบุรี (ใช้เลขสาย 1-71X)

เส้นทางตามใบอนุญาตใหม่ และเกิดจากการปฏิรูป 269 เส้นทางในปี พ.ศ. 2560

แก้

โซน 1

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1-1 (29)   บางเขน   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 29 (รังสิต - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-1 (บางเขน - หัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1 ให้บริการในเส้นทาง "รังสิต - หัวลำโพง"

1-2E (34E)   รังสิต บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 34 (รังสิต - ทางด่วน - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-2E (34 เดิม) (รังสิต - ทางด่วน - หัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านวัชรพล ลงด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขากลับ ขึ้นด่านพระราม 9 ลงด่านวัชรพล)

เปลี่ยนเส้นทางเฉพาะขาไปหัวลำโพง โดยเปลี่ยนจากลงด่านพระราม 9 เป็นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

1-3 (34)   บางเขน วันที่ 27 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-3(34 เดิม) บางเขน-หัวลำโพง
1-4 (39A)   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต บางเขน วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-4(39A เดิม) มธ.ศูนย์รังสิต-บางเขน
1-5 (39)   ตลาดรังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.หลีกภัยขนส่ง) วันที่ 16 ธันวาคม​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 39 มธ.ศูนย์รังสิต-อนุสาวรีย์ชัยฯ ก่อนที่จะตัดระยะเหลือ ตลาดรังสิต-อนุสาวรีย์ชัยฯ ในเวลาต่อมา

เคยมีรถให้บริการในเส้นทาง "มธ.ศูนย์รังสิต - BTS แยก คปอ." โดยจำนวนรถให้บริการขึ้นอยู่กับแผนการเดินรถ ปัจจุบันเส้นทางนี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสาย 1-4 แทน[3]

1-6 (52)   ปากเกร็ด   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 52 (ปากเกร็ด - สถานีชุมทางบางซื่อ) เปลี่ยนเป็นสาย 1-6 (ปากเกร็ด - ถ.วิภาวดีรังสิต - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-7E (59E) (3)   อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-7E(59E เดิม) (ทางด่วน) รังสิต-กิ่งเพชร-สนามหลวง

รถบริการทางด่วน

1-8 (59 / 503) (3) วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 59 (รังสิต - ดอนเมือง - สนามหลวง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-8 (รังสิต - สนามหลวง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านสุทธิสาร หอการค้าไทย ศรีอยุธยา ถ.ราชดำเนินนอก

1-9E   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-9E (ทางด่วน) มธ.ศูนย์รังสิต-มธ.ท่าพระจันทร์

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านเชียงราก ลงด่านยมราช)

มีรถให้บริการน้อย

1-10 (95) (1)   อู่บางเขน   สถานีรถไฟหัวหมาก 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 95 (บางเขน - บางกะปิ) เปลี่ยนเป็นสาย 1-10 (บางเขน - สถานีรถไฟหัวหมาก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-11 (95ก) (3)   อู่รังสิต บางกะปิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ในอดีตเดินรถถึง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
1-12E (107) (1)   อู่บางเขน คลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านดินแดง ลงด่านท่าเรือคลองเตย)

ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง

1-13 (126)   ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 คลองตัน 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 30 มกราคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 126 (ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ - ลำสาลี - คลองตัน) เปลี่ยนเป็นสาย 1-13 (ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ - แยกศรีวรา - คลองตัน) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

1-14E (129) (1) พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ   อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านดินแดง)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

1-15 (150)   ปากเกร็ด มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 150 (ปากเกร็ด - บางกะปิ) เปลี่ยนเป็นสาย 1-15 (ปากเกร็ด - มีนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-16 (185) (3) แยกลำลูกกา พระราม 9 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-16(185 เดิม) แยกลำลูกกา-พระราม 9
1-17 (187)   รังสิต คลอง 3 (ธัญบุรี คลอง 3) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ธรรมนัส ทรานสปอร์ต) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 187 (รังสิต คลอง 3 - สี่พระยา) เปลี่ยนเป็นสาย 1-17 (รังสิต คลอง 3 - อนุสาวรีย์ชัยฯ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-18E (504)   ตลาดรังสิต บางรัก บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 504 (รังสิต - ถนนตก) เปลี่ยนเป็นสาย 1-18E (รังสิต - ทางด่วน - บางรัก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านหลักสี่ ลงด่านดินแดง)

1-19 (510) (2)     มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (อู่ธรรมศาสตร์) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. มีรถบริการทางด่วนในช่วงเวลาเร่งด่วน (ช่วงเช้า ขึ้นทางด่วนโทลเวย์ ด่านแจ้งวัฒนะ ลงทางด่วนศรีรัชด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ช่วงเย็น ขึ้นด่านลาดพร้าว ลงด่านดอนเมือง)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.10

ในอดีตเดินรถถึงบางปะกอก อู่ราชประชา[4]

1-20E (510E) (2) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-20E(510E เดิม) (ทางด่วน) มธ.ศูนย์รังสิต-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านอนุสรณ์สถาน ลงด่านลาดพร้าว)

1-21 (114) (3)   อู่รังสิต   นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-21(114 เดิม) รังสิต-นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5)
1-22E (522) (3)   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านงามวงศ์วาน)

ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง

เดิมใช้เลขสาย ปอ.24

เป็นเส้นทางการเดินรถสายแรกที่ได้รับรองระบบบริหารคุณภาพ จากสถาบันรับรองมาตรฐาน ISO 9002 จากสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม[5]

1-23 (524)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) หลักสี่ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524) วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 524 (สายใต้ใหม่ - สนามหลวง - หลักสี่) เปลี่ยนเป็นสาย 1-23 (สายใต้ใหม่ - สะพานกรุงธน - หลักสี่) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

1-24E (538)   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โรงพยาบาลสงฆ์ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 538 (มทร.ธัญบุรี - หลักสี่ - ทางด่วน - รพ.สงฆ์) เปลี่ยนเป็นสาย 1-24E (มทร.ธัญบุรี - ทางด่วน - สุทธิสาร - รพ.สงฆ์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านหลักสี่ ลงด่านสุทธิสาร)

1-25 (543) (1) แยกถนนลำลูกกา ตลาดใหญ่ลำลูกกา คลอง 7 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน ขสมก. ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

เป็นเส้นทางเสริมให้บริการระหว่างวัน

  อู่บางเขน ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง

เดิมใช้เลขสาย ปอ.49

1-29 (95ข) (1) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-29(95ข เดิม) บางเขน-ม.รามคำแหง

วิ่งเลียบด่วนรามอินทรา

1-31 (523)   ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 คลองหลวง คลอง 5 (สภ.คลองห้า) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-31(523 เดิม) ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ-คลองหลวง คลอง 5

มีรถให้บริการน้อย

1-32E   บางเขน BTS ตลาดพลู วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-32E (ทางด่วน) บางเขน-BTS ตลาดพลู

รถบริการทางด่วน

1-33 (196)     สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-33(196 เดิม) บางเขน-สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ
1-34 (543ก) (1)   อู่บางเขน   ท่าน้ำนนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน

เดิมใช้เลขสาย ปอ.49 และ 543 ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

1-35E (26E) (1)   อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-35E(26E เดิม) (ทางด่วน) มีนบุรี-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน

1-36 (26) (1)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI รถปรับอากาศ สีครีมน้ำเงิน ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-36(26 เดิม) มีนบุรี-หมอชิต 2
1-37 (27 / 502)   มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-37(27 เดิม) มีนบุรี-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

รถปรับอากาศสีน้ำเงิน ผ่าน ถ.วิภาวดีรังสิต แยกดินแดง

1-38 (60) (2)     อู่สวนสยาม สถานีสนามไชย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ DAEWOO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-38(60 เดิม) สวนสยาม-สถานีรถไฟฟ้าสนามไชย

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นทางด่วนด่านอโศก 2 ลงด่านยมราช) เฉพาะช่วงเช้า

ในอดีตครั้งหนึ่งเคยเดินรถถึงมีนบุรี โดยใช้รถปรับอากาศ

1-39 (71)   สวนสยาม คลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 10 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 71 (สวนสยาม - วัดธาตุทอง) เปลี่ยนเป็นสาย 1-39 (สวนสยาม - คลองเตย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 ให้บริการในเส้นทาง "สวนสยาม - วัดธาตุทอง" โดยปัจจุบันเส้นทางนี้ใช้เลขสาย 71X

1-40 (93) (3) หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง   ท่าน้ำสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-40(93 เดิม) หมู่บ้านนักกีฬา-ท่าน้ำสี่พระยา

ผ่านสถานีหัวหมาก ถ.พัฒนาการ

1-41 (92)   เคหะร่มเกล้า แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-41(92 เดิม) เคหะร่มเกล้า-แฮปปี้แลนด์

จากต้นทางเคหะร่มเกล้า ส่วนใหญ่เสริม ตลาดบางกะปิ

1-42 (96) (1)   อู่มีนบุรี   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ในอดีตเดินรถถึงเสาชิงช้า
1-43 (96ก) (1) แฮปปี้แลนด์ กลับมาให้บริการอีกครั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564

ผ่านสำนักงานเขตคันนายาว

มีรถให้บริการน้อย

1-44 (113)   ตลาดมีนบุรี   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วิ่งในเส้นทาง ถนนรามคำแหง
1-45 (115)   สวนสยาม บางรัก วันที่ 15 ตุลาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 115 (สวนสยาม - ถ.นวมินทร์ - บางรัก) เปลี่ยนเป็นสาย 1-45 (สวนสยาม - ถ.เสรีไทย - บางรัก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
1-46 (131) (1) หนองจอก แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-46(131 เดิม) หนองจอก-แฮปปี้แลนด์
1-47 (143)   นิคมอุตสาหกรรมนำไกร มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-47(143 เดิม) นิคมอุตสาหกรรมนำไกร-มีนบุรี
1-49 (152)   สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แฮปปี้แลนด์ วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-49(152 เดิม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง-แฮปปี้แลนด์
1-50 (168) (3)   เคหะร่มเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 31 ธันวาคม 2566 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-50(168 เดิม) เคหะร่มเกล้า-อนุสาวรีย์ชัยฯ
1-52 (197)   มีนบุรี ถนนเลียบคลองสอง 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 15 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-52(197 เดิม) (วงกลม) มีนบุรี-หทัยราษฎร์

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2

1-53 (501 / 508) (1) หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง   ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีครีมน้ำเงิน ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-53(501 เดิม) หมู่บ้านนักกีฬา-ท่าช้าง
1-56 (517)   สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-56(517 เดิม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง-อนุสาวรีย์ชัยฯ (ใช้เลขสาย 517)
1-57 (519) (3)   อู่มีนบุรี   ท่าเรือคลองเตย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-57(519 เดิม) มีนบุรี-ท่าเรือคลองเตย
1-58 (525)   สวนสยาม ลำลูกกา คลอง 12 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 19 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-58(525 เดิม) สวนสยาม-ลำลูกกาคลอง 12

จากสวนสยาม ใช้เส้นทางถนนรามอินทรา

เข้าตลาดมีนบุรี เฉพาะขาไปลำลูกกาคลอง 12

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 ให้บริการในเส้นทาง "สวนสยาม - หมู่บ้านเธียรทอง 3"

1-59 (526)   หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข วันที่ 19 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-59(526 เดิม) สวนสยาม-หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข

จากสวนสยาม ใช้เส้นทางถนนเสรีไทย

เข้าตลาดมีนบุรี เฉพาะขาไปหมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2

1-61   หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข มีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-61 หมู่บ้านเอื้ออาทรสันติสุข-มีนบุรี
1-62   มีนบุรี กระทรวงพาณิชย์ วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-62 มีนบุรี-กระทรวงพาณิชย์
1-63   ปัฐวิกรณ์ สวนหลวงพระราม 8 วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-63 ปัฐวิกรณ์-สวนหลวงพระราม 8
1-64   สวนสัตว์ซาฟารีเวิลด์ นวลจันทร์ เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-64 (วงกลม) ซาฟารีเวิลด์-นวลจันทร์

1-68 (520) (2)   อู่มีนบุรี   อู่รังสิต 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-68(520 เดิม) มีนบุรี-รังสิต
1-71   มีนบุรี นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-71 (วงกลม) มีนบุรี-นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง

1-73   หมู่บ้านเอื้ออาทรลาดกระบัง 2 ร่มเกล้า เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 7 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-73 (วงกลม) หมู่บ้านเอื้ออาทรลาดกระบัง 2-ร่มเกล้า

1-76 (168A)   หมู่บ้านบัวขาว มีนบุรี เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-76(168A เดิม) (วงกลม) หมู่บ้านบัวขาว-มีนบุรี

1-77 (26A)   มีนบุรี คลองเตย วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 26A (มีนบุรี - เอกมัย) เปลี่ยนเป็นสาย 1-77 (มีนบุรี - คลองเตย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2

1-80E (60E) (2)   อู่สวนสยาม MRT สนามไชย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 1-80E(60E เดิม) (ทางด่วน) สวนสยาม-MRT สนามไชย

รถบริการทางด่วน

โซน 2

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2-2 (16 / 505) (2) ปากเกร็ด สี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 เขตการเดินรถที่ 7 ได้กลับมาให้บริการในเส้นทางสาย 2-2 (16 เดิม) (ปากเกร็ด - สี่พระยา) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก โดยได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8 ให้บริการในเส้นทางสาย 16 "อู่กำแพงเพชร-สุรวงศ์"

2-3 (18)   ตลาดท่าอิฐ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-3(18 เดิม) ตลาดท่าอิฐ-อนุสาวรีย์ชัยฯ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

มีให้บริการเพียง 2 รอบในช่วงเช้า โดยรถจะออกจากท่าอิฐในเวลา 04:30 น. และ 05:20 น.

ผ่าน รพ.รามาธิบดี

2-4 (30)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) วัดปากน้ำ (นนทบุรี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ไบรท์สตาร์ซัพพลาย (1999)) วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 30 (สายใต้เดิม - นนทบุรี) เปลี่ยนเป็นสาย 2-4 (สายใต้เดิม - วัดปากน้ำ (นนทบุรี)) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

2-5 (32) (1)   ท่าน้ำปากเกร็ด วัดโพธิ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ผ่าน ท่าช้างวังหลวง ท่าพระจันทร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เฉพาะเที่ยวกลับ
2-6 (33)   ปทุมธานี เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
บจก.บัส 33 วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท บัส 33 จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 33 (ปทุมธานี - สนามหลวง) เปลี่ยนเป็นสาย 2-6 (ปทุมธานี - เทเวศร์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-7 (50) (2) สะพานพระราม 7 สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร

เดิมเคยให้บริการรถทางด่วน (ขึ้นทางด่วนที่ด่านประชานุกูล ลงด่านท่าเรือ)

2-8 (51)   วัดปรางค์หลวง บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 51 (ปากเกร็ด - ม.เกษตร) เปลี่ยนเป็นสาย 2-8 (วัดปรางค์หลวง - บางเขน) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-9 (53) (2) วงกลมรอบเมือง เทเวศร์-สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

2-10E (63) (2)   นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5) ประตูน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-10E(63E เดิม) (ทางด่วน) นครอินทร์ (ท่าเรือพระราม 5)-ประตูน้ำ

รถบริการทางด่วน

2-11 (64)   กระทรวงสาธารณสุข สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-11(64 เดิม) กระทรวงสาธารณสุข-สนามหลวง
2-12 (66) (3)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-12(66 เดิม) สายใต้เก่า-ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

2-13 (69)   ท่าอิฐ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 69 (ท่าอิฐ - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 2-13 (ท่าอิฐ - ม.รามคำแหง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-14 (70) (3) ประชานิเวศน์ 3 สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
ขสมก. วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร

รถบริการทางด่วนในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า-เย็น (เฉพาะรถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) / ขึ้นทางด่วนด่านงามวงศ์วาน ลงด่านยมราช)

2-15 (97)   กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-15(97 เดิม) กระทรวงสาธารณสุข-รพ.สงฆ์

วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7

2-16 (104)   ปากเกร็ด   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 11​ พฤศจิกายน​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด เพิ่มสาย 104 เสริม ปากเกร็ด-เดอะมอลล์งามวงศ์วาน วิ่งสลับกับรถไปหมอชิต ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสาร ค่าโดยสารราคาพิเศษ 15 บาทตลอดสาย จากราคาปกติ 20 บาท แต่วิ่งให้บริการได้เพียง 1 วันก็ถูกยกเลิกวิ่งเพราะไปทับเส้นทางของรถตู้
2-17 (112)     สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-17(112 เดิม) (วงกลม) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ-มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2-18E (69E)   ท่าอิฐ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-18E(69 เดิม) (ทางด่วน) ท่าอิฐ-มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านงามวงศ์วาน ลงด่านอโศก)

2-19 (127)   ตลาดบางบัวทอง บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 13 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 127 (บางบัวทอง - ศรีประวัติ - บางลำพู) เปลี่ยนเป็นสาย 2-19 (บางบัวทอง - ราชพฤกษ์ - บางลำพู) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

2-20 (134) (1)   บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เคยมีการใช้อัตราค่าโดยสารตามรถหมวด 4 ปัจจุบันไม่ได้ใช้อัตราค่าโดยสารดังกล่าวแล้ว

ในอดีตเคยมีรถบริการทางด่วน ขึ้นทางด่วนด่านฉิมพลี ลงทางด่วนด่านกำแพงเพชร 2

2-21E (166) (1) ปากเกร็ด อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-21E(166 เดิม) (ทางด่วน) ปากเกร็ด-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านงามวงศ์วาน)

2-22 (175)     ท่าน้ำนนทบุรี ถนนตก 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-22(175 เดิม) ท่าน้ำนนทบุรี-ถนนตก
2-24E (505) (3) ปากเกร็ด วงเวียนใหญ่ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-24E(505 เดิม) (ทางด่วน) ปากเกร็ด-วงเวียนใหญ่ ต่อมาได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU มาให้บริการเพิ่มเติม

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านสะพานเหลือง ขากลับ ขึ้นด่านหัวลำโพง ลงด่านงามวงศ์วาน)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.5

ในอดีตเดินรถโดยเอกชน

2-25 (516) (1)   บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ) เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน เดิมใช้เลขสาย ปอ.17

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6

2-26 (545)     ท่าน้ำนนทบุรี ซอยพัฒนาการ 25 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เดิมใช้เลขสาย ปอ.126

ในอดีตเคยให้บริการถึงสำโรง

รถส่วนใหญ่เสริม ท่าน้ำนนทบุรี - ม.ราม 1

2-27 (210 / 751)   เมืองทองธานี BTS บางหว้า บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 27 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 210 (สะพานพระราม 4 - BTS บางหว้า) เปลี่ยนเป็นสาย 2-27 (เมืองทองธานี - BTS บางหว้า) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 7 ให้บริการในเส้นทาง "สะพานพระราม 4 - BTS บางหว้า"

2-28 (177) (3) บางบัวทอง สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-28(177 เดิม) บางบัวทอง-สวนลุมพินี

วิ่ง ถ.ราชพฤกษ์

2-29 (1) MRT คลองบางไผ่ เซ็นทรัลพระราม 2 วันที่ 16 มิถุนายน​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-29 MRT คลองบางไผ่-เซ็นทรัลพระราม 2 ต่อมาได้นำรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ย้ายไปให้บริการสายอื่น

รถผ่านเดอะมอลล์บางแคเฉพาะขาไป

2-31E (166) (1) ศรีสมาน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-31E(166 เดิม) (ทางด่วน) ศรีสมาน-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านงามวงศ์วาน ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ขึ้นด่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ลงด่านงามวงศ์วาน)

2-32E (70E) (3) ประชานิเวศน์ 3 สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-32E(70E เดิม) (ทางด่วน) ประชานิเวศน์ 3-สนามหลวง

รถบริการทางด่วน

2-33 (134) (1)   บางบัวทอง (อู่บัวทองเคหะ)   สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ วันที่ 25 กรกฎาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-33(134 เดิม) หมู่บ้านบัวทองเคหะ-สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ
2-34 (55)   สถานีรถไฟสามเสน ดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-34(55 เดิม) (วงกลม) สถานีรถไฟสามเสน-ดินแดง

มีรถให้บริการน้อย

2-35 (110)   ประชานิเวศน์ 3 เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 16 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 110 (พระราม 6 - เทเวศร์) เปลี่ยนเป็นสาย 2-35 (ประชานิเวศน์ 3 - เทเวศร์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-36 (1) ไทรน้อย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 20 พฤษภาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-36 ไทรน้อย-ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ

รถวนท่าน้ำปากเกร็ดทั้งขาไปและขากลับ

2-37 (3) (1)   อู่กำแพงเพชร คลองสาน สายนี้มีการเปลี่ยนอู่ต้นทางจากหมอชิต 2 ย้ายไปที่อู่กำแพงเพชรแทนเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1

2-38 (8)   ตลาดแฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส ดูบทความหลักที่: รถโดยสารประจำทางสาย 8
2-39 (24) (3) ประชานิเวศน์ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-39(24 เดิม) ประชานิเวศน์ 3-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8

2-40 (36) (3)   อู่พระราม 9   ท่าน้ำสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-40(36 เดิม) อู่พระราม 9-สี่พระยา

ผ่านแยกผังเมือง ฟอร์จูนทาวน์

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8

2-41 (36ก) (3) ปัฐวิกรณ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-41(36ก เดิม) ปัฐวิกรณ์-อนุสาวรีย์ชัยฯ

ผ่าน ถ.ศรีวรา ถ.ประชาราษฎร์บำเพ็ญ

2-42 (44)   เคหะคลองจั่น   ท่าเตียน 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-42(44 เดิม) เคหะคลองจั่น-ท่าเตียน
2-43 (49) (1)   อู่กำแพงเพชร   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 16 มกราคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 49 (วงกลม) (สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) - หมอชิต 2 - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 2-43 (อู่กำแพงเพชร - หมอชิต 2 - หัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-44 (54) (3) วงกลมรอบเมือง ตลาดห้วยขวาง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-44(54 เดิม) (วงกลม) อู่พระราม 9-สุทธิสาร-โบสถ์แม่พระฟาติมา

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 8

2-45 (73) (3) หมู่บ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม สะพานพุทธ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ DAEWOO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-45(73 เดิม) เอื้ออาทรบึงกุ่ม-สะพานพุทธ
2-46 (73ก) (3)   อู่สวนสยาม BTS สนามกีฬาแห่งชาติ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-46(73ก เดิม) สวนสยาม-BTS สนามกีฬาแห่งชาติ
2-47 (117) (2) ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย   ท่าน้ำนนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-47(117 เดิม) ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย-ท่าน้ำนนทบุรี
2-48 (122)   แฮปปี้แลนด์   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.รวีโชค) วันที่ 30 มกราคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 122 (วัดเทพลีลา - หมอชิต 2) เปลี่ยนเป็นสาย 2-48 (แฮปปี้แลนด์ - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

มีรถให้บริการน้อย

2-49 (156) (2)   อู่ใต้ทางด่วนรามอินทรา ซอยลาดพร้าว 71 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
2-50 (178) (3) แฮปปี้แลนด์ เซ็นทรัลลาดพร้าว วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-50(178 เดิม) แฮปปี้แลนด์-เซ็นทรัลลาดพร้าว
2-51 (191) (3) การเคหะคลองจั่น สะพานพระนั่งเกล้า เดิมใช้เลขสาย 134ก

ย้ายท่ารถไปสะพานพระนั่งเกล้า ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2564[6]

2-52 (204) (1)   อู่กำแพงเพชร   ท่าน้ำราชวงศ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

วันที่ 16 มกราคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 204 (ห้วยขวาง - ท่าน้ำราชวงศ์) เปลี่ยนเป็นสาย 2-52 (อู่กำแพงเพชร - ท่าน้ำราชวงศ์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
2-53 (2) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รัชดาภิเษก 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 2-53 (วงกลม) อนุสาวรีย์ชัยฯ-รัชดาภิเษก

โซน 3

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
3-1 (2)   ปากน้ำ สะพานพระพุทธยอดฟ้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 3 พฤศจิกายน 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-1(2 เดิม) ปากน้ำ-สะพานพุทธ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 3

3-2E (2E)     ท่าน้ำปู่เจ้าสมิงพราย วันที่ 3 พฤศจิกายน 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-2E(2 เดิม) (ทางด่วน) ปู่เจ้าสมิงพราย-สะพานพุทธ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงทางด่วนด่านเพชรบุรี)

3-3 (11)   สวนหลวง ร.9 BTS สนามกีฬาแห่งชาติ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เอ็กซา โลจิสติก) วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 11 (สวนหลวง ร.9 - แยกประเวศ - สนามกีฬาแห่งชาติ) เปลี่ยนเป็นสาย 3-3 (สวนหลวง ร.9 - แยกรามคำแหง - สนามกีฬาแห่งชาติ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านแยกรามคำแหง

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 2 และ 3

3-4E (23E) (1)   ปากน้ำ เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-4E(23E เดิม) (ทางด่วน) ปากน้ำ-เทเวศร์
3-5 (23) (1) ปู่เจ้าสมิงพราย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ใช้เส้นทางผ่าน ถ.สุขุมวิท - เอกมัย - ถ.เพชรบุรีตัดใหม่
3-6 (25)   โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ วัดธาตุทอง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สาย 25 ร่วมใจ) วันที่ 18 เมษายน​ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-6(25 เดิม) รร.ปทุมคงคา สมุทรปราการ-วัดธาตุทอง
3-7E (25E) (3)   ปากน้ำ (อู่แพรกษา)   ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-7E(25E เดิม) (ทางด่วน) ปากน้ำ (แพรกษา)-ท่าช้าง

รถบริการทางด่วน

3-8 (38)   มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
3-9E (45) (1) หนามแดง   ท่านํ้าสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 31 ธันวาคม 2566 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-9E(45E เดิม) หนามแดง-ท่าน้ำสี่พระยา

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านบ่อนไก่)

3-10 (46) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า
บจก.สิทธิชาญชัย วันที่ 1 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สิทธิชาญชัย จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 46 (ม.รามคำแหง 2 - รองเมือง) เปลี่ยนเป็นสาย 3-10 (ม.รามคำแหง 2 - สี่พระยา) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
3-11 (48)   วัดโพธิ์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 48 (ม.รามคำแหง 2 - บางนา - วัดโพธิ์) เปลี่ยนเป็นสาย 3-11 (ม.รามคำแหง 2 - อุดมสุข - วัดโพธิ์) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านอุดมสุข

3-12E (102) (2)   แพรกษา   เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 (อู่สาธุประดิษฐ์) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านท่าเรือ)
3-13 (507)   สำโรง   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 507 (ปากน้ำ - สายใต้ใหม่) เปลี่ยนเป็นสาย 3-13 (สำโรง - สายใต้ใหม่) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
3-14 (132)   การเคหะบางพลี BTS อุดมสุข บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 15 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 132 (เคหะบางพลี - BTS อ่อนนุช) เปลี่ยนเป็นสาย 3-14 (เคหะบางพลี - BTS อุดมสุข) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 3 ให้บริการในเส้นทาง "เคหะบางพลี - BTS อ่อนนุช"

3-15 (133)   เอกมัย บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สันติมิตรขนส่ง) วันที่ 21 ธันวาคม​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 133 การเคหะบางพลี-เอกมัย
3-16E (139)   มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
บจก.ไพศาลสามัคคีขนส่ง รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงทางด่วนด่านเพชรบุรี)
3-17E (142) (2)     อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ   อู่แสมดำ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านสุขสวัสดิ์)
3-18 (145) (3)     ปากน้ำ (อู่แพรกษา)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน

รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง เคยมีการใช้อัตราค่าโดยสารตามรถหมวด 4 ปัจจุบันไม่ได้ใช้อัตราค่าโดยสารดังกล่าวแล้ว

3-19E (145E) (3) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-19E(145E เดิม) (ทางด่วน) ปากน้ำ (แพรกษา)-หมอชิต 2

รถบริการทางด่วน

3-20E (180) (2)   เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 (อู่สาธุประดิษฐ์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-20E(180 เดิม) (ทางด่วน) เซ็นทรัลพระราม 3-ม.รามคำแหง 2

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านท่าเรือ ลงทางด่วนด่านสุขุมวิท 62)

เคยสังกัดเขตการเดินรถที่ 3 ตั้งแต่เดือนกันยายน 2564 จนถึงเดือนกรกฎาคม 2567

3-21 (207) (3) มหาวิทยาลัยรามคำแหง รถเข้าศูนย์การค้า เมกาบางนา เฉพาะเที่ยวไปมหาวิทยาลัยรามคำแหง

เดิมใช้เลขสาย 207​

ในอดีตเดินรถโดยเอกชน และเขตการเดินรถที่ 3​

3-23E (513)   สำโรง ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 18 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-23E(513 เดิม) (ทางด่วน) สำโรง-ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 50 ลงด่านรามอินทรา)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.13

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 1 และ 3

3-24E (536) (2)   อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านเพชรบุรี)

เดิมใช้เลขสาย ปอ.42

รถบริการทางด่วน (เสริมพิเศษลงทางด่วนอนุสาวรีย์ชัย ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านอนุสาวรีย์ชัย (มีเฉพาะช่วงเย็น))
3-25E (552)   ปากน้ำ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 16 กรกฎาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 552 (ปากน้ำ - นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง) เปลี่ยนเป็นสาย 3-25E (ปากน้ำ - ทางด่วน - นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน

3-26E (R26E / 537) (3) สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นทางด่วนด่านศรีนครินทร์ ลงด่านอนุสาวรีย์ชัย ขากลับ ขึ้นทางด่วนด่านพระราม 9 ลงด่านศรีนครินทร์)

เดิมใช้เลขสาย R26E​

ในอดีตเดินรถโดยเอกชน​

ให้บริการควบคู่กับเอกชนจนถึงวันที่ 29 ตุลาคม 2567

3-26E (R26E / 537)   1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 ตุลาคม​ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS และ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-26E(537 เดิม) (ทางด่วน) สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์-โรงพยาบาลรามาธิบดี

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นทางด่วนด่านศรีนครินทร์ ลงด่านอนุสาวรีย์ชัย ขากลับ ขึ้นทางด่วนด่านพระราม 9 ลงด่านศรีนครินทร์)

3-27 (207A)     ท่าน้ำปู่เจ้าสมิงพราย สวนสยาม วันที่ 16 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-27(207A เดิม) ปู่เจ้าสมิงพราย-สวนสยาม

ผ่านถนนศรีนครินทร์ ถนนเทพรัตน

3-30 (206) (3) ศรีเอี่ยม   อู่บางเขน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์รถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-30(206 เดิม) ศรีเอี่ยม-บางเขน
3-31 (544) (3)   อู่เมกาบางนา บางบอน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-31(544 เดิม) เมกาบางนา-บางบอน
3-32 (545A)   สำโรง สวนสยาม 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 16 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-32(545A เดิม) สำโรง-สวนสยาม

ผ่านสุขุมวิท 71 ถนนรามคำแหง

3-34 (1013)   บางนา นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เอ็กซา โลจิสติก) วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-34(1013 เดิม) บางนา-นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
3-35 (1)   เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 สนามหลวง บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-35(1 เดิม) เซ็นทรัลพระราม 3-สนามหลวง

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

3-36 (4)     ท่าเรือคลองเตย   ท่าน้ำภาษีเจริญ วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-36(4 เดิม) ท่าเรือคลองเตย-ท่าน้ำภาษีเจริญ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

3-37 (12)   ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย MRT สนามไชย วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 12 (ห้วยขวาง - ปากคลองตลาด) เปลี่ยนเป็นสาย 3-37 (ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - MRT สนามไชย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4 ให้บริการในเส้นทาง "ห้วยขวาง - ปากคลองตลาด"

3-38 (13) (1)   อู่คลองเตย ปัฐวิกรณ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-38(13 เดิม) คลองเตย-ปัฐวิกรณ์
3-39 (14)   ตลาดศรีย่าน ถนนตก 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 18 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-39(14 เดิม) ศรีย่าน-ถนนตก
3-40 (22) (2) ถนนตก แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-40(22 เดิม) ถนนตก-แฮปปี้แลนด์
3-41 (47) (1)   ท่าเรือคลองเตย สำนักงานที่ดินกรุงเทพฯ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
3-42 (62) (2)   ท่าน้ำสาธุประดิษฐ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
เดิมมีรถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านเลียบแม่น้ำ ลงด่านเพชรบุรี)
3-43 (67) (1) วัดเสมียนนารี เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
วนเข้าสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ สามารถเดินไปยังสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ) ได้ด้วยระยะทางประมาณ 100 เมตร เที่ยวกลับผ่านวัดช่องลม แยกช่องนนทรี สถานี BRT นราราม 3

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4 และ 7

3-44 (74)   คลองเตย อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-44(74 เดิม) คลองเตย-อนุสาวรีย์ชัยฯ
3-45 (77)   เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-45(77 เดิม) พระราม 3-หมอชิต 2

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

3-46 (72) (1)   ท่าเรือคลองเตย เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และ MITSUBISHI และรถปรับอากาศ สีครีม-น้ำเงิน ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-46(72 เดิม) ท่าเรือคลองเตย-ทองหล่อ-เทเวศร์

ผ่านทองหล่อ

3-47 (136) (1)   อู่คลองเตย   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
3-48 (137) (2) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถนนรัชดาภิเษก 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4

มีรถเสริม ลาดพร้าว 71 ทั้งวนซ้ายและวนขวา

3-49 (179) (3) ศาลาว่าการ กทม.2 สะพานพระราม 7 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ MITSUBISHI และ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-49(179 เดิม) กทม.2-พระราม 7
3-50 (195) (2) BTS ตลาดพลู   อู่คลองเตย วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-50(195 เดิม) BTS ตลาดพลู-คลองเตย

ไม่วนเข้าบิ๊กซีพระประแดง

3-51 (205) (1)   อู่คลองเตย BTS ตลาดพลู เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-51(205 เดิม) (วงกลม) คลองเตย-BTS ตลาดพลู

3-52   พระราม 3 หัวลำโพง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 12 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-52 (วงกลม) พระราม 3-หัวลำโพง

3-53   ARL หัวหมาก เสาชิงช้า วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-53 สถานีรถไฟฟ้าหัวหมาก-เสาชิงช้า
3-54     ท่าน้ำภาษีเจริญ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 14 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-54 ท่าน้ำภาษีเจริญ-อนุสาวรีย์ชัยฯ
3-55   คลองเตย พระราม 7 วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 3-55 คลองเตย-พระราม 7

โซน 4

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
4-1 (6)     ท่าน้ำพระประแดง บางลำพู 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เศวกฉัตร) วันที่ 11​ พฤศจิกายน​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 6 พระประแดง-บางลำพู

ใช้เส้นทางถนนราษฎร์บูรณะ - ถนนเจริญนคร

4-2 (15) (2) BRT ราชพฤกษ์ สยาม 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-2(15 เดิม) (วงกลม) BRT ราชพฤกษ์-สยาม

4-3 (17)   บิ๊กซีพระประแดง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 17 (บิ๊กซีพระประแดง - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-3 (17 เดิม) (บิ๊กซีพระประแดง - อนุสาวรีย์ชัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ผ่านเซ็นทรัลเวิลด์ เฉพาะขาไปอนุสาวรีย์ชัย

4-5 (101) (3)   อู่บรมราชชนนี (พุทธมณฑลสาย 2) ท่าน้ำพระประแดง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-5(101 เดิม) อู่บรมราชชนนี-ท่าน้ำพระประแดง

เคยสังกัดเขตการเดินรถที่ 5 ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2563 จนถึงเดือนสิงหาคม 2564

4-6 (21) (1)   วัดคู่สร้าง มหานาค 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-6(21 เดิม) วัดคู่สร้าง-มหานาค
4-7E (21E) (1)   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 1 พฤศจิกายน​ 2566 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) ยี่ห้อ BONLUCK ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-7E(21E เดิม) วัดคู่สร้าง-ทางด่วน-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้เลข 21E

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านสาทร)

4-8 (35)   เคหะธนบุรี บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.บี.บี.ริช ประเทศไทย) วันที่ 1 เมษายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 35 (วัดสน - สายใต้ใหม่) เปลี่ยนเป็นสาย 4-8 (เคหะธนบุรี - บางลำพู) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-9 (37) (1)   ท่าน้ำพระประแดง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-9(37 เดิม) ท่าน้ำพระประแดง-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4-10 (42)   เสาชิงช้า แยกท่าพระ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.มหาชนยานยนต์) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 22 เมษายน​ 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-10(42 เดิม) (วงกลม) เสาชิงช้า-ท่าพระ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5 และ 6

4-11 (43)   โรงเรียนศึกษานารีวิทยา (ศึกษานารี 2) เทเวศร์ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4-12 (68) (3)   อู่แสมดำ บางลำพู (วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน

ขากลับอู่แสมดำรถจะไปกลับรถบริเวณบริษัท​ ดีโก้วัสดุภัณฑ์​ ซึ่งจะห่างจากจุดกลับรถบริเวณซอยแสมดำประมาณ​ 2​ กิโลเมตร ​

4-13 (75)     อู่ธารทิพย์   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.แกรนด์ซิตี้บัส) วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 75 (ธารทิพย์ - แยกหัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-13 (ธารทิพย์ - สถานีรถไฟหัวลำโพง) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 4 และ 5

4-14 (76) (3)     อู่แสมดำ ประตูน้ำ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก.
4-15 (82)     ท่าน้ำพระประแดง สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 9 กันยายน 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-3(17 เดิม) และ สาย 4-15(82 เดิม)

ใช้เส้นทางถนนสุขสวัสดิ์

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5

4-16 (85)   บิ๊กซีพระประแดง   สถานีรถไฟธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 27 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 85 (แสมดำ - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-16 (บิ๊กซีพระประแดง - สถานีรถไฟธนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-17 (88)   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน BTS ตลาดพลู บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 88 (มจธ.บางขุนเทียน - ลาดหญ้า) เปลี่ยนเป็นสาย 4-17 (มจธ.บางขุนเทียน - BTS ตลาดพลู) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5 ให้บริการในเส้นทาง "มจธ.บางขุนเทียน - ลาดหญ้า"

4-18 (105) (3)   สมุทรสาคร BTS กรุงธนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 105 (มหาชัยเมืองใหม่ - คลองสาน) เปลี่ยนเป็นสาย 4-18 (สมุทรสาคร - BTS กรุงธนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก ต่อมาได้เปลี่ยนกลับมาใช้เลข 105 ตามเดิม

ผ่านเซ็นทรัลมหาชัย

4-19 (108 / 542)   BTS ตลาดพลู อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 27 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 108 (เดอะมอลล์ท่าพระ - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-19 (วงกลม) (BTS ตลาดพลู - อนุสาวรีย์ชัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก​

มีรถให้บริการน้อย

4-20 (111) (2) ถนนเจริญนคร ตลาดพลู 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
วุฒากาศ รถเสริมพิเศษเข้าอู่
4-21 (120​)   โรงพยาบาลสมุทรสาคร แยกบ้านแขก 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.อำไพรุ่งโรจน์) วันที่ 24 ตุลาคม 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 7 และ สาย 4-21(120 เดิม)
4-22E (138) (1)     อู่ราชประชา   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงทางด่วนด่านดินแดง)

เฉพาะขาไปสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถจะจอดส่งผู้โดยสารลงที่สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ)

4-23E (140)   แสมดำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-23E(140 เดิม) (ทางด่วน) แสมดำ-อนุสาวรีย์ชัยฯ

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านเพชรบุรี)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 5

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านอนุสาวรีย์ชัย)

มีให้บริการในช่วงเวลาเร่งด่วนเฉพาะช่วงเย็น ของวันจันทร์-ศุกร์

4-24E (141) (3)     อู่แสมดำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
ขสมก. รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านท่าเรือคลองเตย)
4-25 (147)   เคหะธนบุรี บางแค 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
4-26 (167)   สวนลุมพินี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

วันที่ 30 มกราคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 167 (เคหะธนบุรี - BTS วงเวียนใหญ่ - สวนลุมพินี) เปลี่ยนเป็นสาย 4-26 (เคหะธนบุรี - พระราม 3 - สวนลุมพินี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-27E (173)   บางขุนเทียน แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-27E(173 เดิม) (ทางด่วน) บางขุนเทียน-แฮปปี้แลนด์

รถบริการทางด่วน

4-28 (529)   แสมดำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 15 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-28(529 เดิม) แสมดำ-อนุสาวรีย์ชัยฯ
4-29E (529E)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) วันที่ 29 มกราคม 2567 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 529E (แสมดำ - ทางด่วน - หมอชิต 2) เปลี่ยนเป็นสาย 4-29E (529E เดิม) (แสมดำ - ทางด่วน - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านอโศก)

ผ่านถนนลาดพร้าว

4-34   เคหะธนบุรี พระประแดง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 2 ตุลาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-34 (วงกลม) เคหะธนบุรี-พระประแดง

4-35 (2) คลองสาน เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ HINO ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-35 (วงกลม) คลองสาน-เทเวศร์

4-36 (7)     เอกชัย (วัดราษฎร์รังสรรค์)   สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ต.มานิตย์การเดินรถ) วันที่ 24 ตุลาคม 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 7 และ สาย 4-21(120 เดิม)

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6 ให้บริการในเส้นทาง "คลองขวาง - หัวลำโพง"

4-37 (9)   กัลปพฤกษ์   สถานีรถไฟสามเสน บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4-38 (28)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วันที่ 26 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 28 (สายใต้ใหม่ - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-38 (สายใต้ใหม่ - จันทรเกษม) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ต่อมาวันที่ 25 สิงหาคม 2566 ได้มีการเปลี่ยนเส้นทางอีกครั้งโดยจะไม่ผ่านตึกช้าง จ๊อดแฟร์ พหลโยธิน 24

4-39 (40)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) วันที่ 26 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 40A (สายใต้ใหม่ - หัวลำโพง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-39 (สายใต้ใหม่ - เอกมัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-40 (56)   สะพานกรุงธน บางลำพู บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ชัยกรการเดินรถ) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 19 ธันวาคม​ 2564 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 56 และ 80

4-41 (57)   ตลิ่งชัน ธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 7 กันยายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 57 (วงกลม) (ตลิ่งชัน - ธนบุรี) เปลี่ยนเป็นสาย 4-41 (57 เดิม) (วงกลม) (ตลิ่งชัน - ธนบุรี) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

เปลี่ยนเส้นทางเฉพาะฝั่งวนขวา โดยจะไม่ผ่านสะพานพระราม 8 และสะพานพระปิ่นเกล้า

4-42 (79) (2)   อู่บรมราชชนนี (พุทธมณฑลสาย 2) แยกราชประสงค์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-42(79 เดิม) อู่บรมราชชนนี-ราชประสงค์

ไม่ผ่านถนนพุทธมณฑลสาย 2

4-43 (80) (1) วัดศรีนวลธรรมวิมล สนามหลวง
4-44 (80A)   หมู่บ้านวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 11 (วปอ.11) สวนหลวงพระราม 8 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.เจริญบัส) วันที่ 25 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 80 (วัดศรีนวลธรรมวิมล - สนามหลวง) เปลี่ยนเป็นสาย 4-44 (80A เดิม) (หมู่บ้าน วปอ.11 - สวนหลวง ร.8) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6 ให้บริการในเส้นทาง "หมู่บ้าน วปอ.11 - สำนักงานเขตบางกอกใหญ่"

4-45 (81)   อ้อมน้อย   ท่าราชวรดิฐ บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 1 เมษายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 81 (พุทธมณฑลสาย 5 - สะพานพระปิ่นเกล้า) เปลี่ยนเป็นสาย 4-45 (พุทธมณฑลสาย 5 - ท่าราชวรดิฐ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก ต่อมาได้ขยายต้นทางไปยังอ้อมน้อย
4-46 (84)   วัดไร่ขิง BTS กรุงธนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-46(84 เดิม) วัดไร่ขิง-BTS กรุงธนบุรี

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6

4-47 (89)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4-48 (7ก) (3)   อู่บรมราชชนนี (พุทธมณฑลสาย 2) พาหุรัด 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
4-49 (170)   บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 10 สิงหาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 170 (บรมราชชชนี (พุทธมณฑลสาย 2) - สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ)) เปลี่ยนเป็นสาย 4-49 (170 เดิม) (บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า) - หมอชิต 2) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-50 (123)   สวนสามพราน   ท่าราชวรดิฐ บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส)
4-51 (124)   บ้านเอื้ออาทร ศาลายา สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

4-52 (146)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) บางแค 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 20 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-52(146 เดิม) (วงกลม) สายใต้ใหม่-บางแค

4-53 (149)   บรมราชชนนี   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) วันที่ 19 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-53(149 เดิม) บรมราชชนนี-เอกมัย
4-54E (157)   อ้อมใหญ่ เดอะมอลล์บางแค เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 1 เมษายน 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 157 (อ้อมใหญ่ - ทางด่วน - พระราม 6 - อนุสาวรีย์ชัย) เปลี่ยนเป็นสาย 4-54E (อ้อมใหญ่ - ทางด่วน - หมอชิต 2 - อนุสาวรีย์ชัย) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก ก่อนที่จะกลับมาให้บริการในเส้นทางก่อนหน้าในเวลาต่อมา

รถบริการทางด่วน

พุทธมณฑลสาย 2 เส้นทางเสริมพิเศษเข้าอู่
4-55 (163)   ศาลายา BTS สนามกีฬาแห่งชาติ วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-55(163 เดิม) สถานีศาลายา-BTS สนามกีฬาแห่งชาติ
BTS โพธิ์นิมิตร เป็นเส้นทางเสริมให้บริการระหว่างวัน
4-56 (165)   บรมราชชนนี BTS กรุงธนบุรี วันที่ 13 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-56(165 เดิม) บรมราชชนนี-BTS กรุงธนบุรี

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6 ให้บริการในเส้นทาง "บรมราชชนนี - สำนักงานเขตบางกอกใหญ่"

4-57 (91ก) (3)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) ทวีวัฒนา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง ขสมก. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-57(91ก เดิม) (วงกลม) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)-ทวีวัฒนา

4-59 (189) (1) วัดบางยาง   สถานีตลิ่งชัน วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-59(189 เดิม) กระทุ่มแบน (วัดบางยาง)-สถานีตลิ่งชัน
4-60 (91 / 509) (3) หมู่บ้านเศรษฐกิจ (อัสสัมชัญธนบุรี)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-60(509 เดิม) หมู่บ้านเศรษฐกิจ-สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
4-61 (515)   ศาลายา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 25 พฤศจิกายน​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-61(515 เดิม) ศาลายา-อนุสาวรีย์ชัยฯ

ในอดีตเดินรถโดยเขตการเดินรถที่ 6

4-62 (539)   อ้อมน้อย 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

หจก.บุญมงคลกาญจน์ เดิมใช้เลขสาย ปอ.45
4-63 (84ก / 547)   หมู่บ้านเอี้ออาทรศาลายา 3 ถนนตก 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) วันที่ 1 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท สมาร์ทบัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 547 (ศาลายา - สวนลุมพินี) เปลี่ยนเป็นสาย 4-63 (ศาลายา - ถนนตก) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก
4-64 (556) (1)   วัดไร่ขิง อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-64(556 เดิม) วัดไร่ขิง-อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
แยกนครชัยศรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง วันที่ 31 สิงหาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-64(556 เดิม) แยกนครชัยศรี-อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
4-67 (387)   ศาลายา กระทรวงพาณิชย์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส วันที่ 21 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-67(387 เดิม) สถานีศาลายา-กระทรวงพาณิชย์
4-68   สวนผัก ถนนตก วันที่ 16 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-68 สวนผัก-ถนนตก
4-69 (201) (3)   อู่บรมราชชนนี พระราม 9 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ธรรมดา สีครีม-แดง ยี่ห้อ ISUZU และรถปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-69(201 เดิม) อู่บรมราชชนนี-พระราม 9
4-70E (Y70E) (1) เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา BTS หมอชิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านตลิ่งชัน ลงด่านกำแพงเพชร 2)
4-71E (515E) (1) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย 4-71E(515E เดิม) (ทางด่วน) เซ็นทรัลศาลายา-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ตามคำสั่งของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน (ขาไป ขึ้นด่านฉิมพลี ลงด่านพระราม 6 (คลองประปา) ขากลับ ลงด่านบางบำหรุ)

เส้นทางเชื่อมท่าอากาศยาน

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
A2 (1)   ท่าอากาศยานดอนเมือง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก. วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เป็นวันแรกที่ ขสมก. ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ สีส้ม (ยูโรทู) ยี่ห้อ ISUZU ออกให้บริการในเส้นทางสาย A2 (ทางด่วน) ท่าอากาศยานดอนเมือง-ดินแดง-อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

รถบริการทางด่วน (โทลล์เวย์) (ขึ้นด่านแจ้งวัฒนะ ลงด่านดินแดง)
ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท (15 / 20 บาท สำหรับช่วงดินแดง - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ)

S2 (554)     ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตลาดรังสิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ลงด่านรามอินทรา

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท

S3 (559)   บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.ราชาโร้ด) วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย S3(559 เดิม) (ทางด่วน) รังสิต-สวนสยาม-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วย ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ลงด่านเสรีไทยเพื่อผ่านสวนสยามแล้วกลับมาขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ที่ด่านรามอินทรา ลงด่านธัญบุรี

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในขณะนี้ยังคงจัดเก็บค่าโดยสารตามตารางปกติ

S4 (549)   มีนบุรี วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย S4(549 เดิม) มีนบุรี-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในขณะนี้ยังคงจัดเก็บค่าโดยสารตามตารางปกติ

S5 (550)   แฮปปี้แลนด์ วันที่ 24 ธันวาคม​ 2565 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ผู้ประกอบการรถโดยสารเอกชน ได้นำรถเมล์ปรับอากาศ ใช้พลังงานไฟฟ้า (EV)​ ยี่ห้อ NEX-MINEBUS ออกให้บริการในเส้นทางสาย S5(550 เดิม) แฮปปี้แลนด์-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในขณะนี้ยังคงจัดเก็บค่าโดยสารตามตารางปกติ

S6 (555)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) วันที่ 31 มีนาคม 2566 เป็นวันแรกที่บริษัท ไทยสมายล์บัส จำกัด ได้เปลี่ยนเส้นทางเดินรถ จากเดิมที่เคยวิ่งในสาย 555 (รังสิต - สุทธิสาร - สุวรรณภูมิ) เปลี่ยนเป็นสาย S6 (หมอชิต 2 - สุวรรณภูมิ) ตามสัมปทานในโครงการปฏิรูปรถเมล์ของกรมการขนส่งทางบก

รถบริการทางด่วน ขึ้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนมอเตอร์เวย์ ต่อด้วยทางพิเศษศรีรัช ลงด่านพระราม 9

S7 (558)   เคหะธนบุรี บจก.ไทยสมายล์บัส (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์ ลงด่านบางนา)

หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท

รถหมวด 4

แก้
  • เลขสาย เส้นทางฟลีทย่อยออกมาจากเส้นทางหลัก
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1009 สะพานใหม่ ตลาดมีนบุรี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า-ชมพู

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า-ชมพู

3.รถตู้โดยสารประจำทางสีฟ้า-ชมพู

บจก.สยามเมล์ มีรถให้บริการน้อย
ตลาดวงศกร 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า-ชมพู

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า-ชมพู

รถเมล์/รถมินิบัส ผ่าน ถ.สายไหม
1009 1.รถโดยสารประจำทางสีฟ้า-ขาว

2.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว

รถสองแถว ผ่าน ถ.เพิ่มสิน
ห้าแยกวัชรพล 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว
ตลาดออเงิน ผ่านวัดเกาะสุวรรณาราม
ตลาดวงศกร ลำลูกกา คลอง 4 มีรถให้บริการน้อย
1013 หัวตะเข้ สะพานข้ามคลองพระโขนง (แยกอ่อนนุช) 1.รถโดยสารประจำทางสีขาว-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีขาว-แดง

บจก.ลาดกระบัง
พาราไดซ์ พาร์ค 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีขาว-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีขาว-แดง

1013 สะพานข้ามคลองพระโขนง (แยกอ่อนนุช) ซอยอ่อนนุช 70 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-แดง ใช้เลขสายฟลีทย่อย 1
หมู่บ้านมิตรภาพ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 2
ซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 3
พาราไดซ์ พาร์ค ใช้เลขสายฟลีทย่อย 4
ประเวศ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 5
สถานีหัวหมาก แยกพัฒนาการตัดใหม่ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 6
สะพานข้ามคลองพระโขนง (แยกอ่อนนุช) ใช้เลขสายฟลีทย่อย 7
พาราไดซ์ พาร์ค ใช้เลขสายฟลีทย่อย 9
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 10
สถานีลาดกระบัง เมกาบางนา ใช้เลขสายฟลีทย่อย 11
นิคมลาดกระบัง บ้านเอื้ออาทรลาดกระบัง 1-2 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 111
สำนักงานขนส่งพื้นที่ 4 โรงพยายาลสิรินธร ใช้เลขสายฟลีทย่อย 222
ศูนย์การค้าเทิดไท สถานีลาดกระบัง ใช้เลขสายฟลีทย่อย 333
ICD ลาดกระบัง หมู่บ้านเสรี ใช้เลขสายฟลีทย่อย 444
วัดราชโกษา การเคหะร่มเกล้า ใช้เลขสายฟลีทย่อย 555
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถานีลาดกระบัง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้เลขสายฟลีทย่อย 777

หัวตะเข้ ประเวศ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 888
1014 อุดมสุข 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2
ซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 ผ่านโรงเรียนคลองปักหลัก
1017 ตลาดบางแค บางบอน 1.รถโดยสารประจำทางสีฟ้า บจก.พรดำรงขนส่ง
วัดสิงห์ สายใหม่ ผ่าน ถ.บางแค
1018 ท่าเรือสถานีรถไฟ วัดชัยพฤกษมาลาราชวรวิหาร 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-ขาว หจก.นครชัยพฤกษ์รุ่งเรือง ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
โรงเรียนฉิมพลี ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว
วัดบางไกรใน ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง
1019 สุขุมวิท ท่าเรือทองหล่อ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง เอกชน
1048 ตลาดห้วยขวาง ลาดพร้าว 80 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1058 ดอนเมือง แยกสวนสมเด็จ ผ่าน ถ.ติวานนท์
วัดนาวง
แฟลตทุ่งสีกัน 2
วัดไผ่เขียว
วัดสีกัน
1059 รามอินทรา กม.8 หทัยราษฎร์
หมู่บ้านวิลล่ารามอินทรา
1060 รามอินทรา กม.4 วัดหนองใหญ่ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง

2.รถสองแถวประจำทางสีแดง

มีรถใหญ่ให้บริการเพียงคันเดียว ส่วนรถที่เหลือเป็นรถสองแถว
1062 ตลาดห้วยขวาง วัดเทพลีลา 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1063 เดอะมอลล์ บางกะปิ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-เขียว หจก.ปู่อินทร์ทรานสปอร์ต
1066 แยกราษฎร์พัฒนา 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1069 รามอินทรา กม.4 หมู่บ้านเสนานิเวศน์ 2
หมู่บ้านเนียมกล่ำสามัคคี
1070 รามอินทรา กม.6 ถนนนวมินทร์
1071 รามอินทรา กม.2 เสนานิคม
1073 เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน โลตัสเตาปูน
1080 ตลาดยิ่งเจริญ หมู่บ้านอนันต์สุขสันต์ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-ส้ม-ม่วง บจก.บิ๊กเวิลด์ทรานสปอร์ต
1081 สถานีหลักสี่ ตลาดโกสุมรวมใจ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1082 ตลาดแฮปปี้แลนด์ หมู่บ้านสัมมากร
1083 พหลโยธิน 52 วัดราษฎร์นิยมธรรม
1085 ดอนเมือง หมู่บ้านศิริสุข
1088 หมู่บ้านดาวทอง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1089 รามอินทรา กม.5 เพิ่มสิน 20
1091 ดอนเมือง ตลาดโกสุมรวมใจ บจก.ดอนเมืองบัสทรานสปอร์ต
ถนนประชาอุทิศ (จังหวัดนนทบุรี) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1096 ตลาดยิ่งเจริญ ตลาดถนอมมิตร เอกชน
รามอินทรา กม.2
1105 ตลาดมีนบุรี วัดลำต้อยติ่ง 1.รถสองแถวประจำทางสีเทา-น้ำเงิน หจก.สมานพัฒนาร่วมเจริญกิจ ผ่านคู้ขวา
1108 หนองจอก 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ฟ้า

3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีขาว-ฟ้า

บจก.หนองจอกร่วมมิตรเดินรถ
1119 ผ่านคู้ซ้าย
ลำหิน 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ฟ้า

1120 วัดพระยาสุเรนทร์ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1121 วัดสุขใจ 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง

2.รถสองแถวประจำทางสีแดง

3.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว

มีรถใหญ่ให้บริการเพียงคันเดียว ส่วนรถที่เหลือเป็นรถสองแถวและรถตู้
1123 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน-เขียว

1124 พุทธมณฑลสาย 4 สถานีบางหว้า 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง บจก.ส.เสงี่ยมสุข
วัดศรีนวลธรรมวิมล ตลาดบางแค
หนองแขม โรงเรียนศึกษานารีวิทยา 2
โลตัสพระราม 2 เดอะมอลล์ บางแค
วัดใหม่หนองพะอง บิ๊กซีเพชรเกษม
1125 ตลาดมีนบุรี กีบหมู เอกชน
1127 เคหะรามคำแหง หจก.ส.เพชรทองก้อนเดินรถ
1128 ถนนสามวา (ปากซอยจตุพร) เอกชน
1131 หมู่บ้านสหกรณ์เคหะสถาน แยกบางกะปิ
1143 ท่าน้ำสรรพาวุธ แยกบางนา
1213 สุขุมวิท 93 ซอยพึ่งมี
1215 สุขุมวิท 101/1 ซอยสุภาพงษ์ 1 1.รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีแดง

2.รถสองแถวประจำทางสีแดง

มีรถใหญ่ให้บริการน้อย ส่วนรถที่เหลือเป็นรถสองแถว
1216 สถานีบางนา
1234 เคหะร่มเกล้า แยกกิ่งแก้ว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1238 ตลาดมีนบุรี ลาดกระบัง
1240 สวนลุมพินี ตรอกจันทน์
พระราม 3
1256 สถานีสะพานตากสิน วัดช่องลม
1261 สาธุประดิษฐ์ วัดปริวาสราชสงคราม
1269 หัวตะเข้ ซอยลำกอไผ่
แยกหนองจอก
1270 คลังสินค้าคิง เพาเวอร์ คลองเจ้า
1271 วัดไผ่เงินโชตนาราม โรงพยาบาลเลิดสิน
1272 วัดลุ่มเจริญศรัทธา ถนนเย็นอากาศ
1273 ช่องนนทรี วัดพระยาไกร
1279 วัดดอกไม้ ถนนจันทน์
1283 ลาดกระบัง บางพลี
1292 หัวตะเข้ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-เขียว-เหลือง บจก.ล.กลอยฤทัยทรานสปอร์ต 1993
1293 แยกกิ่งแก้ว โฮมโปรบางพลี 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1303 ตลาดบางแค หมู่บ้านเศรษฐกิจ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-ขาว หจก.กลุ่มรถร่วมคลองขวาง
โรงเรียนศึกษานารีวิทยา 2
ตลาดพุทธมณฑล ผ่านสนามหลวง 2
1304 ตลาดมีนบุรี ตลาดใหญ่ลำลูกกาคลอง 7 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง

2.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ม่วง-ชมพู

3.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน-เขียว

เอกชน รถตู้ เข้าตลาดใหญ่

รถสองแถว ไม่เข้าตลาดใหญ่

1306 ตลาดแฮปปี้แลนด์ หมู่บ้านพฤกษชาติ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง
1314 ตลาดมีนบุรี สถานีหัวหมาก 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-เขียว หจก.ปู่อินทร์ทรานสปอร์ต ใช้เลขสายฟลีทย่อย 1
เดอะ พาซิโอ้ รามคำแหง ใช้เลขสายฟลีทย่อย 66
ตลาดปัฐวิกรณ์ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 77
รามอินทรา กม.8 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 88
หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง รามคำแหง 40 ใช้เลขสายฟลีทย่อย 93
การเคหะร่มเกล้า แฟชั่นไอส์แลนด์ ใช้เลขสายฟลีทย่อย 99
1314 ตลาดมีนบุรี ใช้หัวหลังคาสีขาว-แดง
หมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง เดอะมอลล์ บางกะปิ ใช้หัวหลังคาสีขาว
1316 สถานีรามคำแหง 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
รามคำแหง 24 ซอยพูนทรัพย์สิน (แยก 12)
ซอยรื่นรมย์ (แยก 14)
ซอยศิริมิตร (แยก 16)
ซอยศิริถาวร (แยก 24)
หมู่บ้านเสรี 1-5
1318 บิ๊กซีพระราม 2 สน.ท่าข้าม 1.รถสองแถวประจำทางสีน้ำเงิน-ขาว บจก.อุ่นเรือนเดินรถ
1319 ซอยแฉล้มนิมิตร ตลาดสะพาน 3 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1320 อ่อนนุช พัฒนาการ 30
1400 ตลาดบางแค โรงเรียนทวีวัฒนา 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-เขียว บจก.บัสซอยทรานสปอร์ต
1402 วัดสิงห์ 1.รถโดยสารประจำทางสีฟ้า บจก.พรดำรงขนส่ง สายเก่า ผ่าน ถ.กำนันแม้น
1403 แฟลตทุ่งครุ สุขสวัสดิ์ กม.9 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง บจก.สยามสองแถวเล็ก
1405 วัดคู่สร้าง บิ๊กซีพระประแดง 1.รถสองแถวประจำทางสีเขียว-เหลือง บจก.สหมงคลชัยเดินรถ
1411 จรัญสนิทวงศ์ 12 อิสรภาพ 29 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1416 วัดชลอ จรัญสนิทวงศ์ 65
1419 ตลาดบางขุนศรี วัดศิริวัฒนาราม
1445 วัดพุทธบูชา ดาวคะนอง
1452 ตลาดบางแค เพชรเกษม 58
1454 ถนนพุทธมณฑล สาย 2 ผ่าน ถ.นครลุง
1467 หนองใหญ่ 1.รถโดยสารประจำทางสีฟ้า บจก.พรดำรงขนส่ง มีรถให้บริการน้อย
1468 บางแค 7 (ยิ้มประยูร)
1469 หนองแขม บิ๊กซีเพชรเกษม 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1470 วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ บางปะแก้ว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง หจก.เอ็น.ไอ.เอ็ม.คาร์เซอร์วิส
1472 ตลาดบางแค วัดบุณยประดิษฐ์ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-ชมพู-ฟ้า บจก.พ่อแก่ (1999) ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
สนามหลวง 2 ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน
1474 ตลาดบางขุนศรี ถนนสวนผัก 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-เทา-แดง บจก.ตลิ่งชันวัฒนา
สวนผัก 32
1475 ท่าเรือสถานีรถไฟ วัดประดู่ 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-เขียว บจก.บัสซอยทรานสปอร์ต ใช้ป้ายหน้ารถสีเขียว
วัดช่างเหล็ก ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง
วัดมะพร้าวเตี้ย ใช้ป้ายหน้ารถสีส้ม
วัดจำปา ใช้ป้ายหน้ารถสีชมพู
สมาคมชาวปักษ์ใต้ ใช้ป้ายหน้ารถสีขาว

ผ่านตลาดน้ำคลองลัดมะยม

วัดทอง ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
วัดเงิน ใช้ป้ายหน้ารถสีน้ำเงิน
แม็คโครจรัญสนิทวงศ์ สถานีบางหว้า ใช้ป้ายหน้ารถสีม่วง
1476 ตลาดเซฟอี วัดรางบัว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง บจก.ส.เสี่ยมสุข
1498 ถนนเจริญรัถ ซอยโรงเรียนเยาวพันธ์ เอกชน
1499 วัดหัวกระบือ เทียนทะเล 22 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-ขาว-น้ำเงิน หจก.ศิริร่วมกิจขนส่ง
1500 เดอะมอลล์ท่าพระ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-แดง-เหลือง-น้ำเงิน บจก.ธิติวัชขนส่ง
1501 ตลาดบางบอน การเคหะชุมชนธนบุรี 1.รถสองแถวประจำทางสีฟ้า-ขาว บจก.ศิริชัยบางบอนขนส่ง ใช้หัวหลังคาสีขาว
เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้หัวหลังคาสีเหลือง

วัดกำแพง เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้หัวหลังคาสีชมพู

วัดหัวกระบือ ใช้หัวหลังคาสีฟ้า
ถนนพระรามที่ 2 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้หัวหลังคาสีเขียว

ผ่าน ซ.เอกชัย 69

1506 หมู่บ้านวังทอง เพชรเกษม 77/4 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง-เหลือง-ขาว หจก.ซอย 77 เดินรถ
1509 เพชรเกษม 114 บิ๊กซีเพชรเกษม หจก.กลุ่มรถร่วมคลองขวาง
1510 โรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ ตลาดบางแค 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว-ชมพู-ฟ้า บจก.พ่อแก่ (1999)
1511 ตลาดมีนบุรี เสรีไทย 46 (ซีรอ) 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เอกชน
1516 หัวตะเข้ นิคมอุตสาหกรรมนำไกร
1517 มีนบุรี หัวตะเข้ 1.รถตู้โดยสารประจำทางสีขาว-ม่วง-ชมพู เส้นทางสำหรับรถตู้
บึงบัว 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง เส้นทางสำหรับรถสองแถว
1518 สุขสวัสดิ์ 26 วัดหลวงพ่อโอภาสี
1520 ถนนพัฒนาการ ศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ ผ่าน ซ.รามคำแหง 24
1526 ตลาดถนอมมิตร ลาดพร้าว 81
1528 คอนโดเอื้ออมรสุข โลตัสอ่อนนุช
1532 ตลาดนำชัย วัดกิ่งแก้ว
1534 วัดกก พระราม 2 ซอย 30 เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม
1538 เดอะมอลล์ บางกะปิ บึงกุ่ม
1542 ตลาดมีนบุรี เอื้ออาทรมีนบุรี
1548 ชินเขต 1 ท่าทราย
1550 ตลาดประชาอุทิศ 61 พระประแดงอาเขต

อื่น ๆ

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1   ศาลาพระเกี้ยว สถานีสยาม 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีชมพู (ใช้พลังงานไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ให้บริการในนาม บจก.สมาร์ทบัส) รถโดยสารภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บุคคลภายนอกสามารถใช้บริการได้

2   ศาลาพระเกี้ยว สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ
3   ศาลาพระเกี้ยว คณะแพทยศาสตร์
4   ศาลาพระเกี้ยว สามย่านมิตรทาวน์
5   ระเบียงจามจุรี
402   สถานีสาทร สถานีราชพฤกษ์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีเขียว-เหลือง กทม. (ให้บริการในนาม บมจ.ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ) ดูบทความหลักที่: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์
ทอ. สะพานใหม่ ดอนเมือง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน ขส.ทอ. เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

สาย ทอ. ณ ตอนนี้ไม่มีรถวิ่งให้บริการ

B2   ศาลาว่าการ กทม.2 BTS สนามเป้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีขาว (ใช้พลังงานไฟฟ้า) กทม. เป็นเส้นทางในโครงการทดลองเดินรถเมล์ BMA Feeder นำส่งผู้โดยสารสู่ระบบขนส่งมวลชนทางราง โดย กทม.
B3   เคหะร่มเกล้า ARL ลาดกระบัง
พิเศษ   สิรินธร สามเสน ใช้รถจากสาย B2 และ B3 และให้บริการเฉพาะวันธรรมดาในชั่วโมงเร่งด่วน
รถท่องเที่ยว 4 ตลาดน้ำ   MRT บางขุนนนท์   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม

ใช้รถจากสาย B2 และให้บริการเฉพาะวันหยุดสุดสัปดาห์

- หมู่บ้านเสนาวิลล่า 84 แฮปปี้แลนด์ 1.รถสองแถวประจำทางสีขาว -
ชุมชนหมู่บ้านพัฒนา 70 ไร่ ตลาดคลองเตย 1.รถสองแถวประจำทางสีแดง

รถบริการทางด่วน

แก้

สำหรับตารางต่อไปนี้ เป็นสายรถเมล์ที่มีเส้นทางขึ้นทางด่วน ซึ่งทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ หากเดินทางขึ้นทางด่วน จะต้องเสียค่าโดยสารเพิ่ม 2 บาท จากค่าโดยสารปกติ

สายที่ จุดเริ่มต้น ขึ้นทางด่วนที่ ลงทางด่วนที่ จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ เวลาให้บริการ หมายเหตุ
2E (3-2E)   ท่าน้ำปู่เจ้าสมิงพราย สุขุมวิท 62 เพชรบุรี สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) ตลอดวัน
20 พระสมุทรเจดีย์ บางครุ ปากน้ำ (ช้างสามเศียร) ปากน้ำ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
21E (4-7E)   วัดคู่สร้าง สุขสวัสดิ์ สาทร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

23E (3-4E)   ปากน้ำ บางนา เพชรบุรี เทเวศร์
25E (3-7E)   ปากน้ำ (อู่แพรกษา) สะพานสว่าง ท่าช้าง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

26E (1-35E)   มีนบุรี โยธินพัฒนา พหลโยธิน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
34E (1-2E)   รังสิต วัชรพล อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขาไป)

พระราม 9 (ขากลับ)

  หัวลำโพง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
63 (2-10E) นครอินทร์ งามวงศ์วาน ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
ประตูน้ำ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
69E (2-18E)   ตลาดท่าอิฐ อโศก มหาวิทยาลัยรามคำแหง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) วนเข้าเดอะมอลล์งามวงศ์วาน
102 (3-12E)     อู่ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา ท่าเรือคลองเตย   ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

วนเข้า ถ.แพรกษา
107 (1-12E)   บางเขน ดินแดง   คลองเตย รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

129 (1-14E) พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ บางนา ดินแดง   บางเขน รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

138 (4-22E)     ราชประชา ถนนสุขสวัสดิ์   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

139 (3-16E)   มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา สุขุมวิท 62 เพชรบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
140 (4-23E)   แสมดำ สุขสวัสดิ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เร่งด่วนเย็น
141 (4-24E)     แสมดำ ท่าเรือคลองเตย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
ตลอดวัน
142 (3-17E)     ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา ถนนสุขสวัสดิ์   แสมดำ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

166 เมืองทองธานี ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
166 (2-21E) ปากเกร็ด
166 (2-31E) ศรีสมาน
173 (4-27E)   บางขุนเทียน สุขสวัสดิ์ พัฒนาการ แฮปปี้แลนด์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
180 (3-20E)   ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ท่าเรือคลองเตย สุขุมวิท 62 มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา /   เมกาบางนา รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
505 (2-24E) ปากเกร็ด งามวงศ์วาน หัวลำโพง วงเวียนใหญ่ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) วนเข้าเดอะมอลล์งามวงศ์วาน
510E (1-20E)   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต อนุสรณ์สถาน ถนนลาดพร้าว อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
แจ้งวัฒนะ
511 (3-22E)     ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา ถนนเพชรบุรี   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

513 (3-23E)   สำโรง สุขุมวิท 50 รามอินทรา ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
514E (1-55E) มีนบุรี ประชาอุทิศ พระราม 4 ท่าน้ำสี่พระยา รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
515E (4-71E) เซ็นทรัลศาลายา ฉิมพลี (ขาไป)

บางบำหรุ (ขากลับ)

คลองประปา 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เร่งด่วนเช้า-เย็น
522 (1-22E)     รังสิต งามวงศ์วาน ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ตลอดวัน
529E (4-29E)   แสมดำ สุขสวัสดิ์ อโศก   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) ผ่านถนนลาดพร้าว
536 (3-24E)   ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ บางนา เพชรบุรี รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เร่งด่วนเย็น
552 (3-25E)   ปากน้ำ บางแก้ว นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) ตลอดวัน
554 (S2)   ตลาดรังสิต ถนนรามอินทรา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ   ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หากโดยสารเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 10 บาท
555   รังสิต ดินแดง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
558 (S7)   การเคหะธนบุรี สุขสวัสดิ์ บางนา รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
559 (S3)   ตลาดรังสิต ธัญบุรี / เสรีไทย รามอินทรา / ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
A1     ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) หลักสี่ ลาดพร้าว   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ไฮบริด)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท ตลอดสาย
แยกถนนลำลูกกา เร่งด่วนเช้า มีให้บริการเฉพาะขาไปสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 4 คัน คือ 5.30 น. 6.00 น. 6.30 น. และ 7.00 น.

วันหยุดสุดสัปดาห์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ จะไม่ขึ้นโทลล์เวย์

A2     ท่าอากาศยานกรุงเทพ (ดอนเมือง) ดินแดง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ตลอดวัน ค่าโดยสาร คนละ 30 บาท ตลอดสาย
A3   สวนลุมพินี ค่าโดยสาร คนละ 50 บาท ตลอดสาย
A4 ยมราช สนามหลวง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
S1   ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ค่าโดยสาร คนละ 60 บาท ตลอดสาย
1-7E (59E)   รังสิต แจ้งวัฒนะ ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-9E   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เชียงราก ยมราช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
1-18E (504)   ตลาดรังสิต แจ้งวัฒนะ ดินแดง บางรัก
1-24E (538)   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สุทธิสาร โรงพยาบาลสงฆ์
1-32E   บางเขน ประชาอุทิศ สุรวงศ์ BTS ตลาดพลู
1-80E (60E)   สวนสยาม ศรีนครินทร์ พหลโยธิน MRT สนามไชย รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2-32E (70E) ประชานิเวศน์ 3 งามวงศ์วาน อุรุพงษ์ สนามหลวง
3-9E (45) หนามแดง บางนา พระราม 4 ท่าน้ำสี่พระยา
3-19E (145E)   ปากน้ำ (อู่แพรกษา) ศรีนครินทร์ ดินแดง   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
3-26E (R26E / 537) สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขาไป)

พระราม 9 (ขากลับ)

โรงพยาบาลรามาธิบดี
3-26E (R26E / 537)   รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
4-33E (138) พระประแดง สุขสวัสดิ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
4-54E (157)   อ้อมใหญ่ ฉิมพลี ถนนพระราม 6 (คลองประปา 2) (ขาไป)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ขากลับ)
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
4-70E (Y70E) เซ็นทรัลศาลายา ตลิ่งชัน กำแพงเพชร 2 BTS หมอชิต รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
S6 (555)     สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) พระราม 9 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ   ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

เส้นทางรถประจำทางที่ยุติการให้บริการแล้ว

แก้
  • เลขสาย สายการเดินรถในปัจจุบันที่ยังคงมีรถให้บริการแต่มีการย้ายต้นทาง-ปลายทาง รวมทั้งมีการเปลี่ยนเส้นทางใหม่-ยกเลิกเส้นทางเดิม
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด หมายเหตุ
1 บางปะกอก ท่าเตียน ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่ถนนตก
2 สำโรง ปากคลองตลาด
อู่เมกาบางนา ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
3 กม.11 คลองสาน ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่อู่กำแพงเพชร
อู่หมอชิต 2
4 ท่าเรือคลองเตย สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) เส้นทางเสริมพิเศษ
5 ประชานุกูล สะพานพุทธ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่อู่กำแพงเพชร
6 บุคคโล บางขุนพรหม ปัจจุบันควบรวมกับสาย 86 เป็นสาย 6 ในปัจจุบัน
7 สมุทรสาคร หัวลำโพง ผ่านเซ็นทรัลมหาชัย
คลองขวาง เส้นทางสำหรับรถธรรมดาครีมแดง
สถานีวงเวียนใหญ่ เป็นรถเสริมที่ให้บริการในช่วงแรกๆ ที่มีการเปิดเดินรถรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมส่วนต่อขยาย
7/1 บางแค พาหุรัด ปัจจุบันคือสาย 7ก และให้บริการในเส้นทาง "อู่บรมราชชนนี - พาหุรัด"
7ก พุทธมณฑลสาย 2 หัวลำโพง เส้นทางเสริมพิเศษ
วัดม่วง จักรวรรดิ์
8 การเคหะร่มเกล้า สะพานพุทธ เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ

ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 1-50 (168 เดิม)

9 ท่านํ้าภาษีเจริญ ศรีย่าน ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ถนนกัลปพฤกษ์ - สถานีรถไฟสามเสน"
10 นางเลิ้ง
11 อู่เมกาบางนา เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์(มาบุญครอง) เส้นทางสำหรับรถปรับอากาศ

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "สวนหลวง ร.9 - สนามกีฬาแห่งชาติ"

สำนักงานเขตประเวศ เส้นทางสำหรับรถธรรมดา

ผ่านแยกประเวศ ถนนอ่อนนุช ม.เกษมบัณฑิต

ปัจจุบันวิ่งในเส้นทาง "สวนหลวง ร.9 - สนามกีฬาแห่งชาติ"

11ก มักกะสัน สะพานพุทธ
12 ห้วยขวาง ปากคลองตลาด ปัจจุบันขยายต้นทางไป MRT ศูนย์วัฒนธรรม
13 คลองเตย รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านท่าเรือคลองเตย ลงทางด่วนด่านอนุสาวรีย์ชัยฯ)
ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "คลองเตย - ปัฐวิกรณ์"
14 ศรีย่าน คลองเตย ปัจจุบันขยายปลายทางไปถนนตก
สวนลุมพินี
โรงเรียนนนทรีวิทยา
15 อู่กัลปพฤกษ์ บางลำพู ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "(วงกลม) BRT ราชพฤกษ์ - สยาม"
เดอะมอลล์ท่าพระ
16 อู่ศรีณรงค์ สนามม้าปทุมวัน ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ปากเกร็ด - ท่านํ้าสี่พระยา"
เตาปูน สุรวงศ์
อู่กำแพงเพชร
17 การเคหะชุมชนธนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่บิ๊กซีพระประแดง
บิ๊กซีพระประแดง ผ่านเซ็นทรัลเวิลด์
18 อู่บางซ่อน ปัจจุบันขยายต้นทางไปตลาดท่าอิฐ
อู่ท่าอิฐ
พระราม 6 ปัจจุบันขยายต้นทางไปตลาดท่าอิฐ
ท่านํ้าสี่พระยา ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ตลาดท่าอิฐ - อนุสาวรีย์ชัย"
19 ตลิ่งชัน เทเวศร์ ไม่ผ่านวงเวียนใหญ่

เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 4-35

20 บิ๊กซีพระประแดง ท่านํ้าท่าดินแดง เส้นทางสำหรับรถมินิบัส
21 แฟลตทุ่งครุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัดคู่สร้าง ปัจจุบันย้ายปลายทางไปมหานาค
สถานีกรุงธนบุรี
พาหุรัด เส้นทางเสริมพิเศษ

ปัจจุบันขยายปลายทางไปมหานาค

21ก ปัจจุบันคือเส้นทางเสริมของสาย 21
22 อู่โพธิ์แก้ว เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ปัจจุบันย้ายต้นทางไปแฮปปี้แลนด์
มีนบุรี
สวนสยาม ปัจจุบันย้ายต้นทางไปแฮปปี้แลนด์
อาคารทีพีไอ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "ถนนตก - แฮปปี้แลนด์"
เซ็นทรัลพระราม 3 แฮปปี้แลนด์ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปถนนตก
เส้นทางรถบรรเทา ผ่าน ถ.สาธุประดิษฐ์
เส้นทางเสริมพิเศษ

ไม่ผ่านเอเชียทีค ถนนพระราม 3

23 อู่เมกาบางนา เทเวศร์
สำโรง รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านถนนเพชรบุรี)

ปัจจุบันขยายต้นทางไปปากนํ้า

รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านยมราช)
24 ประชานิเวศน์ 3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันขยายปลายทางไปจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านงามวงศ์วาน ลงทางด่วนด่านคลองประปา)
25 ปากน้ำ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เส้นทางสำหรับรถเอกชนร่วมบริการ
สนามหลวง รถไม่ขึ้นทางด่วน ผ่านสุขุมวิท สยาม สามย่าน
โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ ปัจจุบันขยายปลายทางไปเอกมัย
26 สวนสยาม หมอชิต 2 ใช้รถจากสาย 517 (ในขณะนั้น) ในการเดินรถเพื่อลดอัตราสิ้นเปลืองพลังงานจากการตีรถเปล่าจากอู่สวนสยามไปยังหมอชิต 2
มีนบุรี ช่วงที่สาย 96 ยังอยู่ในสังกัด กดร.22 อู่สวนสยาม (เวลานั้น) ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2554 สาย 96 เริ่มทดลองขยายไปมีนบุรีโดยใช้เส้นทาง หมอชิต 2 - สวนสยาม - เสรีไทย - มีนบุรี สาเหตุต้องย้ายไปอู่มีนบุรีเพราะเนื่องจากเขตการเดินรถที่ 8 จะต้องนำรถที่อยู่ในสังกัด กดร.28 และ กดร.38 (อู่โพธิ์แก้ว) ที่กำลังยุบขณะนั้นไปจอดที่อู่สวนสยาม หลังจากนั้นเส้นทางเสริมของสาย 26 มีนบุรี - หมอชิต 2 ได้หายไประยะหนึ่งช่วงปี พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2557 เมื่อมีการย้ายกลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 22 ของสาย 517 ในปี พ.ศ. 2557 โดยใช้รถจากสาย 517 (ในขณะนั้น) ในการเดินรถเรื่อยๆมา จนกระทั่งย้ายไปสังกัดเขตการเดินรถที่ 8 กลุ่มปฏิบัติการเดินรถที่ 18 อู่กำแพงเพชร เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2564
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
กรมการปกครอง คลอง 9 เส้นทางมีความทับซ้อนกับสาย 374, 1304 และ 6250
อนุสาวรีย์​ชัย​สมรภูมิ ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่หมอชิต 2
เคหะฉลองกรุง ใช้ป้ายหน้ารถสีเขียว
สถานีลาดกระบัง ใช้ป้ายหน้ารถสีแดง
คลองกุ่ม ตลาดหนองจอก เป็นเส้นทางที่ทดลองวิ่งในโครงการปฏิรูปรถเมล์ 145 เส้นทางในปี พ.ศ. 2552

ปัจจุบันคือสาย 131

26ก มีนบุรี เคหะฉลองกรุง ต่อมาคือเส้นทางเสริมของสาย 26
สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) ผ่านเลียบทางด่วนรามอินทรา

ปัจจุบันขยายปลายทางไปคลองเตย

28 สายใต้ใหม่ อนุสาวรีย์​ชัย​สมรภูมิ ปัจจุบันขยายปลายทางไปจันทรเกษม
สายใต้เก่า
28A
29 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต อนุสาวรีย์​ชัย​สมรภูมิ ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "บางเขน​ -​ ถ.พระราม 6 - หัวลำโพง"
หัวลำโพง
รังสิต
29ก อู่บางเขน ปัจจุบันส่วนหนึ่งของเส้นทางนี้ถูกทดแทนด้วยสาย 1-1 (29 เดิม)
30 สายใต้เก่า นนทบุรี ผ่านบางโพ

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่วัดปากน้ำ (นนทบุรี)

31 ปทุมธานี ท่าช้าง
32 วัดราษฎร์ประคองธรรม ปากเกร็ด ให้บริการด้วยรถเมล์ฟรี
33 ปทุมธานี สนามหลวง ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่เทเวศร์
34 แยกลำลูกกา หัวลำโพง เป็นเส้นทางเพื่อเพิ่มความถี่ของรถในเส้นทาง ใช้รถธรรมดาครีมน้ำเงิน
รังสิต รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านประชานุกูล ลงด่านสีลม)
อู่บางเขน ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ผ่านสะพานใหม่ แยกลำลูกกา

ปัจจุบันลดเหลือเป็นเส้นทางเสริมของสาย 34

ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เส้นทางสำหรับรถมินิบัส

ปัจจุบันตัดระยะเหลือแค่ BTS แยก คปอ.

35 สาธุประดิษฐ์ เสาชิงช้า ปัจจุบันให้บริการในเส้นทาง "เคหะธนบุรี - บางลำพู"
วัดสน สายใต้ใหม่
36 อู่พระราม 9 ท่าน้ำสี่พระยา ผ่านสำนักงานใหญ่ ขสมก. ถ.เทียมร่วมมิตร ศูนย์วัฒนธรรม
36ก อู่โพธิ์แก้ว อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปัจจุบันย้ายต้นทางไปอยู่ปัฐวิกรณ์