การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย

กระบวนการทางรัฐสภาของไทย

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

รายการ

แก้

มิถุนายน 2475

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมิถุนายน ปี 2475 เป็นการลงมติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจากวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองขึ้น 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475[1] และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็น ประธานคณะกรรมการราษฎร (ซึ่งเป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหาร เทียบเท่ากับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน) ตามรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 1/วันที่ 28 มิถุนายน 2475 [2]

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
อิสระ
 
ผู้แทนราษฎร
(ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2475)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้รับเลือกจากสภาผู้แทนราษฎร

ธันวาคม 2475

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนธันวาคม ปี 2475 เป็นการลงมติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจากวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
อิสระ
 
ประธานคณะกรรมการราษฎร
(ตั้งแต่ 28 มิถุนายน 2475)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475[3]

เมษายน 2476

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนเมษายน ปี 2476 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ยึดอำนาจตัวเองโดยรัฐประหารเงียบ ได้ประกาศพระราชกฤษฎีกา ยุบคณะรัฐมนตรีชุดเดิม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ และให้นายกรัฐมนตรีคณะซึ่งยุบนี้ เป็นนายกรัฐมนตรีของคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ เนื่องจากวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2476 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ประกาศพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร งดใช้รัฐธรรมนูญ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
อิสระ
 
นายกรัฐมนตรีไทย
(ตั้งแต่ 10 ธันวาคม 2475)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476[4]

มิถุนายน 2476

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมิถุนายน ปี 2476 เป็นการลงมติของผู้แทนราษฎรชั่วคราว เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจาก วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476 รัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีได้ประกาศพระราชกฤษฎีกา ยึดอำนาจรัฐบาลตัวเอง[5] เสนอชื่อตนเองเป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ 2 และให้อำนาจนิติบัญญัติแก่คณะรัฐมนตรีในการออกกฏหมายแทน(โดยไม่ต้องผ่านการพิจารณาของสภา) ตามความในข้อ 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ๒๔๗๖ พร้อมงดใช้รัฐธรรมนูญ(บางมาตรา) [6] และวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 คณะทหารบก, ทหารเรือ และพลเรือน ยึดอำนาจบีบให้ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ลาออกจากตำแหน่ง โดยระบุเหตุผลว่า เพราะรัฐบาลกระทำการเป็นเผด็จการ ทำลายระบอบใหม่[7] โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรยื่นคำร้องขอให้เรียกประชุมวิสามัญ มีประกาศให้เปิดสภาผู้แทนราษฎร และใช้รัฐธรรมนูญได้ตามปกติ[8] [9]

มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 สภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด เห็นชอบให้ พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี ตามรายงานการประชุม สภาผู้แทนราษฎร (วิสามัญ) ครั้งที่ 1/วันที่ 22 มิถุนายน 2476 [10]

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยาพหลพลพยุหเสนา
คณะราษฎร
 
รัฐมนตรี
(10 ธันวาคม 2475 – 18 มิถุนายน 2476)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 [11]

ธันวาคม 2476

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนธันวาคม ปี 2476 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี เนื่องจากรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา ประกาศให้เลือกตั้งทั่วไป

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยาพหลพลพยุหเสนา
คณะราษฎร
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้รับความไว้วางใจเป็นเอกฉันท์

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476[12] [13]

พ.ศ. 2477

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2477 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 นายพระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยาพหลพลพยุหเสนา
คณะราษฎร
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้รับความไว้วางใจเป็นเอกฉันท์

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477[14] [15]

สิงหาคม 2480

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนสิงหาคม ปี 2480 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก เนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่ไม่โปร่งใส

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยาพหลพลพยุหเสนา
คณะราษฎร
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480[16] [17]

ธันวาคม 2480

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนธันวาคม ปี 2480 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากสภาครบวาระแล้ว

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พระยาพหลพลพยุหเสนา
คณะราษฎร
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 21 มิถุนายน 2476)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480[18] [19]

พ.ศ. 2481

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2481 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พระยาพหลพลพยุหเสนา พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
หลวงพิบูลสงคราม
คณะราษฎร
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
(ตั้งแต่ 22 กันยายน 2477)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ไว้วางใจ ไม่ไว้วางใจ
แปลก พิบูลสงคราม[20] 111 2

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481[21]

พ.ศ. 2485

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2485 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก เนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสมกับสถานการณ์ (สงครามโลกครั้งที่สอง)

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
แปลก พิบูลสงคราม
คณะราษฎร
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2481)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
แปลก พิบูลสงคราม ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2485[22]

พ.ศ. 2487

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2487 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
พจน์ พหลโยธิน แปลก พิบูลสงคราม
คณะราษฎร
 
 
นายกรัฐมนตรี
(21 มิถุนายน 2476 – 16 ธันวาคม 2481)
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2481)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
พระยาพหลพลพยุหเสนา 81
แปลก พิบูลสงคราม 19

พระยาพหลพลพยุหเสนา ปฏิเสธตำแหน่ง จึงมีการลงมติใหม่อีกครั้ง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ควง อภัยวงศ์ แปลก พิบูลสงคราม สินธุ์ กมลนาวิน
คณะราษฎร
 
 
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
(8 กันยายน 2485 – 17 กุมภาพันธ์ 2486)
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2481)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
(ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2485)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
ควง อภัยวงศ์ 69
แปลก พิบูลสงคราม 22
สินธุ์ กมลนาวิน 8

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487[23]

สิงหาคม 2488

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2488 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก และได้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2488[24]

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ทวี บุณยเกตุ
คณะราษฎร
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
(ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2487)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ทวี บุณยเกตุ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทวี บุณยเกตุ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488[25]

กันยายน 2488

แก้

เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2488 ได้มีการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2488 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ทวี บุณยเกตุ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก[26]

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
เสรีไทย
 
เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา
(18 มิถุนายน 2483 – 2485)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้ง หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2488

มกราคม 2489

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมกราคม ปี 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ควง อภัยวงศ์ ดิเรก ชัยนาม
คณะราษฎร
 
 
นายกรัฐมนตรี
(1 สิงหาคม 2487 – 31 สิงหาคม 2488)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(ตั้งแต่ 1 กันยายน 2488)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ[27]
ควง อภัยวงศ์ 86
ดิเรก ชัยนาม 66

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2489[28]

มีนาคม 2489

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ปรีดี พนมยงค์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
สหชีพ ประชาธิปัตย์
 
 
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
(16 ธันวาคม 2484 – 5 ธันวาคม 2488)
นายกรัฐมนตรี
(17 กันยายน 2488 – 31 มกราคม 2489)
พรรคการเมือง ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ[29]
พรรคสหชีพ ปรีดี พนมยงค์ 116
พรรคประชาธิปัตย์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 36

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489[30]

มิถุนายน 2489

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมิถุนายน ปี 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ปรีดี พนมยงค์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ปรีดี พนมยงค์
สหชีพ
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2489)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ปรีดี พนมยงค์ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489[31]

สิงหาคม 2489

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนสิงหาคม ปี 2489 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ปรีดี พนมยงค์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก เนื่องจากถูกใส่ความกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
แนวรัฐธรรมนูญ ประชาธิปัตย์
 
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2489)
นายกรัฐมนตรี
(17 กันยายน 2488 – 31 มกราคม 2489)
พรรคการเมือง ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
พรรคแนวรัฐธรรมนูญ ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ 113
พรรคประชาธิปัตย์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 52

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489[32]

พฤษภาคม 2490

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนพฤษภาคม ปี 2490 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการลาออก

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ มังกร พรหมโยธี ควง อภัยวงศ์
แนวรัฐธรรมนูญ ประชาธิปัตย์
 
 
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 23 สิงหาคม 2489)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
(10 มีนาคม 2485 – 1 สิงหาคม 2487)
นายกรัฐมนตรี
(31 มกราคม – 24 มีนาคม 2489)
พรรคการเมือง ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
พรรคแนวรัฐธรรมนูญ ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ 132
พรรคประชาธิปัตย์ ควง อภัยวงศ์ 55
พรรคแนวรัฐธรรมนูญ มังกร พรหมโยธี 7

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490[33]

พฤศจิกายน 2490

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2490 เป็นการลงมติของคณะทหารแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากการถูกยึดอำนาจ

มติคณะทหารแห่งชาติ
ควง อภัยวงศ์
ประชาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(31 มกราคม – 24 มีนาคม 2489)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ควง อภัยวงศ์ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490[34]

กุมภาพันธ์ 2491

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2491 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากมีการเลือกตั้งทั่วไป

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ควง อภัยวงศ์
ประชาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 9 พฤศจิกายน 2490)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ควง อภัยวงศ์ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491[35]

เมษายน 2491

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนเมษายน ปี 2491 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ควง อภัยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
แปลก พิบูลสงคราม
ธรรมาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(16 ธันวาคม 2481 – 1 สิงหาคม 2487)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง
แปลก พิบูลสงคราม 70 26 73

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491[36]

พ.ศ. 2492

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2492 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
แปลก พิบูลสงคราม
ธรรมาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
แปลก พิบูลสงคราม ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492[37]

พ.ศ. 2494

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในธันวาคม ปี 2494 เป็นการลงมติของ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

ผู้ได้รับการเสนอชื่อมติในสภาผู้แทนราษฎร
แปลก พิบูลสงคราม
ธรรมาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
แปลก พิบูลสงคราม ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494[38]

พ.ศ. 2495

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในมีนาคม ปี 2495 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
แปลก พิบูลสงคราม
ธรรมาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
แปลก พิบูลสงคราม ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2495[39]

พ.ศ. 2500

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในมีนาคม ปี 2500 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากสภาครบวาระ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
แปลก พิบูลสงคราม
เสรีมนังคศิลา
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 8 เมษายน 2491)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
แปลก พิบูลสงคราม ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2500[40]

พ.ศ. 2501

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในมกราคม ปี 2501 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก พจน์ สารสิน พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ถนอม กิตติขจร
ชาติสังคม
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
(ตั้งแต่ 23 กันยายน 2500)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ถนอม กิตติขจร ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501[41]

พ.ศ. 2502

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในกุมภาพันธ์ ปี 2502 เป็นการลงมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถนอม กิตติขจร พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากลาออก และรัฐประหาร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาร่างรัฐธรรมนูญ
สฤษดิ์ ธนะรัชต์
อิสระ
 
หัวหน้าคณะปฏิวัติ
(ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2501)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502[42]

พ.ศ. 2506

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในธันวาคม ปี 2506 เป็นการลงมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากถึงแก่อสัญกรรม

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาร่างรัฐธรรมนูญ
ถนอม กิตติขจร
อิสระ
 
นายกรัฐมนตรี
(1 มกราคม – 20 ตุลาคม 2501)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ถนอม กิตติขจร ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506[43]

พ.ศ. 2512

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2512 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถนอม กิตติขจร พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้ง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ถนอม กิตติขจร
สหประชาไทย
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 9 ธันวาคม 2506)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ถนอม กิตติขจร ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2512[44]

พ.ศ. 2515

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในปี 2515 เป็นการลงมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจาก ถนอม กิตติขจร พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากรัฐประหารตัวเอง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ถนอม กิตติขจร
อิสระ
 
นายกรัฐมนตรี
(9 ธันวาคม 2506 – 17 พฤศจิกายน 2514)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ถนอม กิตติขจร ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515[45]

พ.ศ. 2517

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2517 เป็นการลงมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
สัญญา ธรรมศักดิ์
อิสระ
 
นายกรัฐมนตรี
(14 ตุลาคม 2516 – 22 พฤษภาคม 2517)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
สัญญา ธรรมศักดิ์ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517[46]

กุมภาพันธ์ 2518

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2518 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการลาออก และจัดให้มีการเลือกตั้ง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ชาติชาย ชุณหะวัณ
ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
 
 
นายกรัฐมนตรี
(17 กันยายน 2488 – 31 มกราคม 2489)
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
(30 พฤษภาคม 2517 – 20 มกราคม 2518)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ [47]
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 133
ชาติชาย ชุณหะวัณ 52

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518[48]

แต่เมื่อแถลงนโยบาย สภาผู้แทนราษฎรกลับไม่ได้รับความไว้วางใจ เป็นรัฐบาลแรกและรัฐบาลเดียวในประวัติศาสตร์ไทย

นายกรัฐมนตรีผู้แถลงนโยบาย ไว้วางใจ ไม่ไว้วางใจ งดออกเสียง
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 111 152 6

มีนาคม 2518

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมีนาคม ปี 2518 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบาย

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช สมคิด ศรีสังคม
กิจสังคม สังคมนิยมแห่งประเทศไทย
 
 
ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
(29 ธันวาคม 2516 – 7 ตุลาคม 2517)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(ตั้งแต่ 26 มกราคม 2518)
ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช 135
สมคิด ศรีสังคม 59
งดออกเสียง 75

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2518[49]

เมษายน 2519

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนเมษายน ปี 2519 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(15 กุมภาพันธ์ – 14 มีนาคม 2518)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช 206
จากสมาชิกทั้งหมด 279

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2519[50]

กันยายน 2519

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกันยายน ปี 2519 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ขอลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 20 เมษายน 2519)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2519[51]

ตุลาคม 2519

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนตุลาคม ปี 2519 เป็นการลงมติของคณะการปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากถูกยึดอำนาจ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
ธานินทร์ กรัยวิเชียร
อิสระ
 
ผู้พิพากษาศาลฎีกา
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
ธานินทร์ กรัยวิเชียร ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งธานินทร์ กรัยวิเชียรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519[52]

พ.ศ. 2520

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2520 เป็นการลงมติของสภานโยบายแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากธานินทร์ กรัยวิเชียร ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากถูกยึดอำนาจ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภานโยบายแห่งชาติ
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ
 
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
(ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2520)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520[53]

พ.ศ. 2522

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2522 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 และวุฒิสภา ตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากจัดให้มีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกหลังรัฐประหาร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
อิสระ กิจสังคม
 
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 11 พฤศจิกายน 2520)
นายกรัฐมนตรี
(14 มีนาคม 2518 – 20 เมษายน 2519)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ​[54]
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 336
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช 190

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2522[55]

พ.ศ. 2523

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2523 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากลาออก ก่อนการเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา
เปรม ติณสูลานนท์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ หะริน หงสกุล เสริม ณ นคร ทวี จุลละทรัพย์ สงัด ชลออยู่ สมัคร สุนทรเวช
อิสระ กิจสังคม อิสระ ประชากรไทย
 
 
 
 
 
 
 
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
(ตั้งแต่ 24 พฤษภาคม 2522)
นายกรัฐมนตรี
(14 มีนาคม 2518 – 20 เมษายน 2519)
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 11 พฤศจิกายน 2520)
ประธานรัฐสภา
(ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 2522)
รองนายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2522)
รองนายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2522)
หัวหน้าคณะปฏิวัติ
(20 ตุลาคม – 11 พฤศจิกายน 2520)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
(22 ตุลาคม 2519 – 19 ตุลาคม 2520)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สส. สว. รวม
เปรม ติณสูลานนท์ 195 200 395
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช 79 1 80
เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 4 1 5
หะริน หงสกุล 2 - 2
เสริม ณ นคร - 2 2
ทวี จุลละทรัพย์ - 2 2
สงัด ชลออยู่ - 1 1
สมัคร สุนทรเวช - 1 1
ไม่ออกเสียง 1 - 1
บัตรเสีย 4 3 7
รวมออกเสียง 285 211 496

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเปรม ติณสูลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523[56]

พ.ศ. 2526

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2526 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเปรม ติณสูลานนท์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2523)
พรรคที่สนับสนุน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ คะแนน
พรรคประชากรไทย 36
พรรคชาติประชาธิปไตย 15
พรรคกิจสังคม 101
พรรคชาติไทย 108
พรรคประชาธิปัตย์ 57
รวม 317
งดออกเสียง 7

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2526[57]

พ.ศ. 2529

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2529 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากเปรม ติณสูลานนท์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2523)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ[58]
เปรม ติณสูลานนท์ 266

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529[59]

พ.ศ. 2531

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2531 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย
 
รองนายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2529)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
ชาติชาย ชุณหะวัณ 224

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531[60]

พ.ศ. 2533

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2533 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากชาติชาย ชุณหะวัณ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการลาออก

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 4 สิงหาคม 2531)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
ชาติชาย ชุณหะวัณ 225

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533[61]

พ.ศ. 2534

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2534 เป็นการลงมติของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากชาติชาย ชุณหะวัณ ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการถูกยึดอำนาจ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ
 
ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ
(12 สิงหาคม 2518 – 11 มีนาคม 2520)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
อานันท์ ปันยารชุน ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งอานันท์ ปันยารชุนเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2534[62]

เมษายน 2535

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนเมษายน ปี 2535 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากอานันท์ ปันยารชุน ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
สุจินดา คราประยูร ชวลิต ยงใจยุทธ
อิสระ ความหวังใหม่
 
 
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
(ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2534)
รองนายกรัฐมนตรี
(30 มีนาคม – 21 มิถุนายน 2533)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
สุจินดา คราประยูร 195
ชวลิต ยงใจยุทธ 165

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสุจินดา คราประยูรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535[63]

กันยายน 2535

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกันยายน ปี 2535 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากอานันท์ ปันยารชุน ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ชวน หลีกภัย ประมาณ อดิเรกสาร
ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
 
 
รองนายกรัฐมนตรี
(29 ธันวาคม 2532 – 26 สิงหาคม 2533)
รองนายกรัฐมนตรี
(3 มีนาคม 2523 – 19 มีนาคม 2526)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
ชวน หลีกภัย 207
ประมาณ อดิเรกสาร 153

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535[64]

พ.ศ. 2538

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2538 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 นายชวน หลีกภัย ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
บรรหาร ศิลปอาชา ชวน หลีกภัย
ชาติไทย ประชาธิปัตย์
 
 
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
(7 เมษายน – 9 มิถุนายน 2535)
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 23 กันยายน 2535)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
บรรหาร ศิลปอาชา 233
ชวน หลีกภัย 158

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งนายบรรหาร ศิลปอาชาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538[65]

พ.ศ. 2539

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2539 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2539 นายบรรหาร ศิลปอาชา ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ชวลิต ยงใจยุทธ ชวน หลีกภัย
ความหวังใหม่ ประชาธิปัตย์
 
 
รองนายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 13 กรกฎาคม 2538)
นายกรัฐมนตรี
(23 กันยายน 2535 – 13 กรกฎาคม 2538)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการลงมติ
ชวลิต ยงใจยุทธ 219
ชวน หลีกภัย 174

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกชวลิต ยงใจยุทธเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539[66]

พ.ศ. 2540

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2540 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ชวน หลีกภัย ชาติชาย ชุณหะวัณ
ประชาธิปัตย์ ชาติพัฒนา
 
 
นายกรัฐมนตรี
(23 กันยายน 2535 – 13 กรกฎาคม 2538)
นายกรัฐมนตรี
(4 สิงหาคม 2531 – 23 กุมภาพันธ์ 2534)
พรรคการเมือง ชวน หลีกภัย ชาติชาย ชุณหะวัณ รวม
พรรคความหวังใหม่ - 125 125
พรรคประชาธิปัตย์ 123 - 123
พรรคชาติพัฒนา - 52 52
พรรคชาติไทย 39 - 39
พรรคประชากรไทย 13 5 18
พรรคเอกภาพ 8 - 8
พรรคมวลชน - 2 2
พรรคพลังธรรม 1 - 1
พรรคไท 1 - 1
รวม 191 184 375

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540[67]

พ.ศ. 2544

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2544 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 นายชวน หลีกภัย พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย
 
รองนายกรัฐมนตรี
(15 สิงหาคม – 8 พฤศจิกายน 2540)
พรรคการเมือง เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
ไทยรักไทย 246 2 248
ประชาธิปัตย์ 126 2 128
ชาติไทย 41 41
ความหวังใหม่ 36 36
ชาติพัฒนา 29 29
เสรีธรรม 14 14
ราษฎร 2 2
กิจสังคม 1 1
ถิ่นไทย 1 1
รวม 339 128 31 2 498

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544[68]

พ.ศ. 2548

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2548 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ปฏิบัติหน้าที่จนครบวาระ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2544)
พรรคการเมือง เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
ไทยรักไทย 374 1 2 377
ประชาธิปัตย์ 92 4 96
ชาติไทย 1 1 23 25
มหาชน 2 2
รวม 377 1 116 6 494

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548[69]

พ.ศ. 2549

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2549 เป็นการลงมติของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากทักษิณ ชินวัตร ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากการถูกยึดอำนาจ

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ
 
องคมนตรี
(ตั้งแต่ พฤศจิกายน 2546)
ผู้ได้รับการเสนอชื่อ สถานะของผลการลงมติ
สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้รับความไว้วางใจ

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549

มกราคม 2551

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนมกราคม ปี 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ จุลานนท์ ประกาศให้เลือกตั้งทั่วไป

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
สมัคร สุนทรเวช อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
พลังประชาชน ประชาธิปัตย์
 
 
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (23 กรกฏาคม 2543 - 22 กรกฏาคม 2547)

รองนายกรัฐมนตรี
(3 กรกฎาคม 2539 – 8 พฤศจิกายน 2540)

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
(14 พฤศจิกายน 2540 – 17 กุมภาพันธ์ 2544)
พรรคการเมือง สมัคร สุนทรเวช อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ งดออกเสียง รวม
พรรคพลังประชาชน 231 - 2 233
พรรคประชาธิปัตย์ - 163 1 164
พรรคเพื่อแผ่นดิน 21 - - 21
พรรคชาติไทย 37 - - 37
พรรคมัชฌิมาธิปไตย 7 - - 7
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา 9 - - 9
พรรคประชาราช 5 - - 5
รวม 310 163 3 476

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2551 [70]

กันยายน 2551

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนกันยายน ปี 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช ถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยถอดถอนออกจากตำแหน่ง

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
สมชาย วงศ์สวัสดิ์ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
พลังประชาชน ประชาธิปัตย์
 
 
รองนายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2551)
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
(14 พฤศจิกายน 2540 – 17 กุมภาพันธ์ 2544)
พรรคการเมือง สมชาย วงศ์สวัสดิ์ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ งดออกเสียง รวม
พรรคพลังประชาชน 226 - 4 230
พรรคประชาธิปัตย์ - 163 1 164
พรรคเพื่อแผ่นดิน 21 - - 21
พรรคชาติไทย 30 - - 30
พรรคมัชฌิมาธิปไตย 7 - - 7
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา 9 - - 9
พรรคประชาราช 5 - - 5
รวม 298 163 5 466

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 [71]

ธันวาคม 2551

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในเดือนธันวาคม ปี 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากพรรคพลังประชาชนถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ส่งผลให้สมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคพลังประชาชนถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ทำให้ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไปโดยปริยาย

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประชา พรหมนอก
ประชาธิปัตย์ เพื่อแผ่นดิน
 
 
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
(14 พฤศจิกายน 2540 – 17 กุมภาพันธ์ 2544)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
(24 กันยายน – 2 ธันวาคม 2551)
พรรคการเมือง อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประชา พรหมนอก งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
พรรคเพื่อไทย - 178 - - 178
พรรคประชาธิปัตย์ 163 - 1 1 165
พรรคเพื่อแผ่นดิน 12 9 - - 21
พรรคชาติไทยพัฒนา 14 1 - - 15
พรรคภูมิใจไทย 8 3 - - 11
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา 5 2 1 1 9
พรรคประชาราช - 5 - - 5
กลุ่มเพื่อนเนวิน 22 - 1 - 23
กลุ่มอื่น ๆ[^ 1] 11 - - - 11
รวม 235 198 3 2 438

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [72]

พ.ศ. 2554

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2554 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย
 
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2554)
ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ พรรคการเมือง เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พรรคเพื่อไทย 261 - 4 - 265
พรรคประชาธิปัตย์ - 3 152 4 159
พรรคภูมิใจไทย - - 34 - 34
พรรคชาติไทยพัฒนา 19 - - - 19
พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 7 - - - 7
พรรคพลังชล 7 - - - 7
พรรครักประเทศไทย - - 4 - 4
พรรคมาตุภูมิ - - 2 - 2
พรรครักษ์สันติ - - 1 - 1
พรรคมหาชน 1 - - - 1
พรรคประชาธิปไตยใหม่ 1 - - - 1
รวม 296 3 197 4 500

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554 [73]

พ.ศ. 2557

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2557 เป็นการลงมติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และเกิดเหตุการณ์รัฐประหาร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
อิสระ
 
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
(ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557)
ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
ประยุทธ์ จันทร์โอชา 191 - 3 3 197
รวม 191 0 3 3 197

และมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557[74]

พ.ศ. 2562

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2562 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 ในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา จัดให้มีการเลือกตั้ง ภายหลังการรัฐประหาร

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา
ประยุทธ์ จันทร์โอชา ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ
อิสระ อนาคตใหม่
 
 
นายกรัฐมนตรี
(ตั้งแต่ 24 สิงหาคม 2557)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2562)
พรรคการเมือง ประยุทธ์ จันทร์โอชา ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
วุฒิสภา 249 - 1 - 250
เพื่อไทย - 136 - - 136
พลังประชารัฐ 116 - - - 116
อนาคตใหม่ - 79 - 2 81
ประชาธิปัตย์ 51 - 1 - 52
ภูมิใจไทย 50 - 1 - 51
เสรีรวมไทย - 10 - - 10
ชาติไทยพัฒนา 10 - - - 10
ประชาชาติ - 7 - - 7
เศรษฐกิจใหม่ - 6 - - 6
เพื่อชาติ - 5 - - 5
รวมพลังประชาชาติไทย 5 - - - 5
ชาติพัฒนา 3 - - - 3
พลังท้องถิ่นไท 3 - - - 3
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย 2 - - - 2
พลังปวงชนไทย - 1 - - 1
พลังชาติไทย 1 - - - 1
ประชาภิวัฒน์ 1 - - - 1
ไทยศรีวิไลย์ 1 - - - 1
พลังไทยรักไทย 1 - - - 1
ครูไทยเพื่อประชาชน 1 - - - 1
ประชานิยม 1 - - - 1
ประชาธรรมไทย 1 - - - 1
ประชาชนปฏิรูป 1 - - - 1
พลเมืองไทย 1 - - - 1
ประชาธิปไตยใหม่ 1 - - - 1
พลังธรรมใหม่ 1 - - - 1
รวม 500 244 3 2 749

จึงถือได้ว่ามติที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา ลงมติเลือก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีอีกวาระหนึ่ง และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562[75]

พ.ศ. 2566

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2566 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 และวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา
พิธา ลิ้มเจริญรัตน์
ก้าวไกล
 
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(ตั้งแต่ 14 พฤษภาคม 2566)

การลงมติครั้งแรกจัดในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2566

ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ พรรคการเมือง เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ก้าวไกล 151 - - - 151
เพื่อไทย 141 - - - 141
ภูมิใจไทย - 70 - 1 71
พลังประชารัฐ - 40 - - 40
รวมไทยสร้างชาติ - 36 - - 36
ประชาธิปัตย์ - - 25 - 25
ชาติไทยพัฒนา - - 10 - 10
ประชาชาติ 8 - 1 - 9
ไทยสร้างไทย 6 - - - 6
ชาติพัฒนากล้า - - 2 - 2
เพื่อไทรวมพลัง 2 - - - 2
เสรีรวมไทย 1 - - - 1
ประชาธิปไตยใหม่ - 1 - - 1
ครูไทยเพื่อประชาชน - - 1 - 1
เป็นธรรม 1 - - - 1
พลังสังคมใหม่ 1 - - - 1
ใหม่ - - 1 - 1
ท้องที่ไทย - 1 - - 1
วุฒิสภา 13 34 159 43 249
รวม 324 182 199 44 749

การลงมติครั้งแรกนั้น พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ได้คะแนนเสียงเห็นชอบ 324 เสียง ซึ่งไม่ถึงตามที่กำหนด จึงทำให้ประธานรัฐสภาตัดสินใจเลื่อนการลงมติออกไปก่อน

การลงมติครั้งที่สองจัดในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 ได้เสนอพิธาอีกครั้ง แต่มีผู้ประท้วงว่าไม่สามารถเสนอชื่อซ้ำเดิมได้ จึงเปิดให้ลงมติเรื่องดังกล่าว ผลมติดังกล่าว ส่งผลให้ไม่สามารถเสนอชื่อพิธาเป็นนายกรัฐมนตรีได้ในสมัยประชุมนี้ จึงเลื่อนการลงมติครั้งที่สามออกไปเป็นวันที่ 27 กรกฎาคม และอีกครั้งในวันที่ 4 สิงหาคม แต่แล้วก็ถูกเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนดเพราะรอคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยว่ากรณีมติรัฐสภาที่ห้ามเสนอชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีซ้ำนั้นขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่

เมื่อการตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง จึงสามารถดำเนินการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีรอบที่ 3 ดำเนินต่อไปได้ โดยมีการนัดลงมติในวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในรัฐสภา
เศรษฐา ทวีสิน
เพื่อไทย
 
ประธานอำนวยการ บมจ.แสนสิริ

(2564–2566)

การลงมติครั้งที่สามจัดในวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566

ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ พรรคการเมือง เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
เศรษฐา ทวีสิน ก้าวไกล - 149 - 1 150
เพื่อไทย 140 - - 1 141
ภูมิใจไทย 71 - - - 71
พลังประชารัฐ 39 - - 1 40
รวมไทยสร้างชาติ 36 - - - 36
ประชาธิปัตย์ 16 2 6 1 25
ชาติไทยพัฒนา 10 - - - 10
ประชาชาติ 8 - 1 - 9
ไทยสร้างไทย - - 6 - 6
ชาติพัฒนากล้า 2 - - - 2
เพื่อไทรวมพลัง 2 - - - 2
เสรีรวมไทย 1 - - - 1
ประชาธิปไตยใหม่ 1 - - - 1
ครูไทยเพื่อประชาชน 1 - - - 1
เป็นธรรม - 1 - - 1
พลังสังคมใหม่ 1 - - - 1
ใหม่ 1 - - - 1
ท้องที่ไทย 1 - - - 1
วุฒิสภา 152 13 68 16 249
รวม 482 165 81 20 748

จึงถือได้ว่ามติที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา ลงคะแนนเสียงเห็นชอบจำนวน 482 เสียงให้เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566[76]

พ.ศ. 2567

แก้

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยในปี 2567 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 159 ในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีแทนตำแหน่งที่ว่างลง เนื่องจากนายเศรษฐา ทวีสิน ถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยถอดถอนออกจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญมาตรา 170 วรรคหนึ่ง (4) ประกอบมาตรา 160 (4) (5)

ผู้ได้รับการเสนอชื่อในสภาผู้แทนราษฎร
แพทองธาร ชินวัตร
เพื่อไทย
 
หัวหน้าพรรคเพื่อไทย
(ตั้งแต่ 27 ตุลาคม 2566)
ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ พรรคการเมือง เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ งดออกเสียง ไม่เข้าร่วมประชุม รวม
แพทองธาร ชินวัตร ประชาชน - 143 - - 143
เพื่อไทย 139 - 1 1 141
ภูมิใจไทย 71 - - - 71
พลังประชารัฐ 39 - - 1 40
รวมไทยสร้างชาติ 36 - - - 36
ประชาธิปัตย์ - - 25 - 25
ชาติไทยพัฒนา 10 - - - 10
ประชาชาติ 8 - 1 - 9
ไทยสร้างไทย 6 - - - 6
ชาติพัฒนา 3 - - - 3
ไทรวมพลัง 2 - - - 2
เสรีรวมไทย 1 - - - 1
ประชาธิปไตยใหม่ 1 - - - 1
ครูไทยเพื่อประชาชน 1 - - - 1
เป็นธรรม - 1 - - 1
พลังสังคมใหม่ 1 - - - 1
ใหม่ 1 - - - 1
ท้องที่ไทย 1 - - - 1
ไทยก้าวหน้า - 1 - - 1
รวม 319 145 27 3 494

จึงถือได้ว่ามติที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรลงคะแนนเสียงเห็นชอบจำนวน 319 เสียงให้แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567[77]

หมายเหตุ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕[ลิงก์เสีย]
  2. “รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 1/วันที่ 28 มิถุนายน 2475”
  3. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
  4. “พระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรฯ ลงวันที่ 1 เมษายน 2476”
  5. “1 เมษายน 2476 รัฐประหารครั้งแรก ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย”
  6. “พระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรฯ ลงวันที่ 1 เมษายน 2476”
  7. หน้า 17, อำนาจ ๒ โดย รุ่งมณี เมฆโสภณ (มีนาคม พ.ศ. 2555) ISBN 978-616-536-079-1
  8. “พระยาพหลพลพยุหเสนา : การยึดอำนาจทวงคืนประชาธิปไตย หลังวิกฤติการณ์ “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ””
  9. “รู้จัก ‘พระยาพหลพลพยุหเสนา’ ทหารประชาธิปไตย (เคย) มีอยู่จริง””
  10. “รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 1/วันที่ 22 มิถุนายน 2476”
  11. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
  12. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
  13. [https://library.stou.ac.th/2024/01/prajadhipok-state-ceremony-opening-parliament/ ย้อนประวัติศาสตร์ รัชกาลที่ 7 เสด็จฯ รัฐพิธีเปิดประชุมสภาครั้งแรก 10 ธันวาคม 2476 ]
  14. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477
  15. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 23/วันที่ 22 กันยายน 2477
  16. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
  17. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 21/วันที่ 8 สิงหาคม 2480
  18. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
  19. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 3/วันที่ 23 ธันวาคม 2480
  20. วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 เป็นวันที่จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งแรก[ลิงก์เสีย]
  21. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
  22. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
  23. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
  24. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 13/วันที่ 23 สิงหาคม 2488
  25. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทวี บุณยเกตุเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
  26. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 22/วันที่ 17 กันยายน 2488
  27. ย้อนอดีตการเมืองไทย : แพ้โหวตสภา นายกฯ ต้องลาออก - Workpoint News, สืบค้นเมื่อ 2022-05-04
  28. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2489
  29. สิริรัตน์ เรืองวงษ์วาร. ประวัติศาสตร์การเมืองไทยตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2529.
  30. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
  31. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งปรีดี พนมยงค์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
  32. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
  33. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
  34. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
  35. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
  36. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491
  37. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  38. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
  39. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2495
  40. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
  41. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501
  42. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
  43. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506
  44. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
  45. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งถนอม กิตติขจรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515
  46. มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งนายสัญญา ธรรมศักดิ์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
  47. Retro Politics Podcast EP.10 ล้มนายกฯ ราโชมอนการเมือง เรื่องเดียวเล่าคนละอย่าง : Matichon TV, สืบค้นเมื่อ 2022-07-13
  48. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
  49. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
  50. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2519
  51. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2519
  52. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งธานินทร์ กรัยวิเชียรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
  53. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
  54. "ย้อนดูเลือกตั้ง พ.ศ. 2522 ตุน สว. ไว้แล้ว 225 เสียง" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2019-01-22.
  55. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
  56. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเปรม ติณสูลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
  57. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเปรม ติณสูลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2526
  58. การพัฒนาพรรคการเมืองไทย : ศึกษากรณีพรรคประชาธิปัตย์
  59. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเปรม ติณสูลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
  60. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
  61. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
  62. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งอานันท์ ปันยารชุนเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2534
  63. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสุจินดา คราประยูรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2535
  64. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535
  65. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งนายบรรหาร ศิลปอาชาเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
  66. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกชวลิต ยงใจยุทธเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
  67. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งชวน หลีกภัยเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
  68. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
  69. "พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2018-02-25.
  70. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2551
  71. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551
  72. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
  73. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
  74. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557
  75. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562
  76. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งเศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2566
  77. พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้งแพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศลง ณ วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้