สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6 (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 และให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 2 ทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎรไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการเลือกตั้ง[1]

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 6
ชุดที่ 5 ชุดที่ 7
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมพระที่นั่งอนันตสมาคม
วาระ29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 – 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีแปลก 6
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก123
ประธานพระประจนปัจจนึก
รองประธานคนที่ 1พระราชธรรมนิเทศ
รองประธานคนที่ 2พระยาอานุภาพไตรภพ
นายกรัฐมนตรีแปลก พิบูลสงคราม

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แก้

ประเภทที่ 2 แก้

  ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
  ออกจากตำแหน่ง
รายนาม[2] สมาชิกภาพ หมายเหตุ
หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

 

กำปั่น กัมปนาทแสนยากร

 

หลวงกรโกสียกาจ (กอน โกสียกาจ)

 

กฤช ปุณณกันต์

 

เกษียร ศรุตตานนท์

 

กฤษณ์ สีวะรา

 

หม่อมหลวงขาบ กุญชร

 

เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์

 

หลวงจุลยุทธยรรยง (จุลยุทธ์ ศุภชลัสภ์)

 

เจียม ญาโณทัย

 

เจริญ สุวรรณวิสูตร

 

หลวงเจริญจรัมพร (เจริญ เจริญจรัมพร)

 

จำเป็น จารุเสถียร

 

จิตติ นาวีเสถียร

 

จำลอง ยงยุทธ

 

จรูญ เฉลิมเตียรณ

 

จิตร สุนทนานนท์

 

จิตตเสน ปัญจะ

 

เจริญ ปัณฑโร

 

เฉลิม พงษ์สวัสดิ์

 

เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร

 

เฉลิม เชี่ยวสกุล

 

หลวงเชิดวุฒากาศ (สุดใจ เชิดวุฒิ)

 

หลวงโชติชนาภิบาล

 

หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)

 

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม

 

ชลอ จารุกลัส

 

ชื้น สนแจ้ง

 

ชลอ สินธุเสนี

 

ชู จันทรุเบกษา

 

ชาติชาย ชุณหะวัณ

 

ชาญ บุญญสิทธิ์

 

เชิดชัย ทองสิงห์

 

หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี)

 

ชวน จนิษฐ์

 

ณรงค์ สาลีรัฐวิภาค

 

เดช เดชประดิยุทธ

 

ตรี บุณยกนิษฐ์

 

ไตรเดช ปั้นตระกูล

 

ถนอม กิตติขจร

 

ทัศน์ กรานเลิศ

 

เทพ เกษมุติ

 

ทวี จุลละทรัพย์

 

ทม จิตรวิมล

 

น้อม เกตุนุติ

 

นักรบ บิณษรี

 

พระนิติธารณ์พิเศษ (ชุบ มัธยมจันทร)

 

บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

 

บุญชัย บำรุงพงศ์

 

พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)

 

แปลก พิบูลสงคราม

 

พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)

 

ปลด ปลดปรปักษ์ พิบูลภานุวัธน์

 

ปรุง รังสิยานนท์

 

ประยูร ภมรมนตรี

 

หลวงปรุงปรีชากาศ

 

ประภาส จารุเสถียร

 

ประเสริฐ รุจิรวงศ์

 

ประมาณ อดิเรกสาร

 

ประยูร สุคนธทรัพย์

 

เปลี่ยน นิ่มเนื้อ

 

ประดุจ อินธาระ

 

ประยูร หนุนภักดี

 

พระยาประชาสัยสรเดช

 

ประจวบ บุนนาค

 

ผิน ชุณหะวัณ

 

เผชิญ นิมิบุตร

 

เผ่า ศรียานนท์

 

ผาด ตุงคะสมิต

 

เพิ่ม ลิมบี่สวัสดิ์

 

พระพินิจชนคดี (พินิจ อินทรทูต)

 

หลวงพิชิตธุระการ

 

เพียร สฤษฏ์ยุทธศิลป์

 

พิชัย กุลละวณิชย์

 

พงษ์ ปุณณกันต์

 

ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี

 

เฟื่อง เฟื่องวุฒิราญ

 

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

 

มังกร พรหมโยธี

 

หลวงมงคลยุทธนาวี

 

มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

 

มนัส เหมือนทองจีน

 

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

 

เรือง เรืองวีรยุทธ

 

หลวงรณสิทธิพิชัย

 

พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)

 

เล็ก สงวนชาติสรไกร

 

ลม้าย อุทยานนท์

 

เลื่อน พงษ์โสภณ

 

หลวงวิทิตกลชัย

 

วิชัย พงษ์อนันต์

 

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

 

นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

 

ขุนวิจารณ์คาวี

 

ขุนศิลป์ศรชัย

 

ศิริ สิริโยธิน

 

สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ

 

หลวงสวัสดิ์สรยุทธ์

 

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

 

สวัสดิ์ สวัสดิ์รณรงค์

 

สุทธิ์ สุทธิสารรณกร

 

สถิตย์ สถิตย์ยุทธการ

 

ไสว ไสวแสนยากร

 

หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)

 

สุนทร สุนทรนาวิน

 

สงบ จรูญพร

 

เสนาะ รักธรรม

 

สนอง ธนศักดิ์

 

หม่อมราชวงศ์สุกษม เกษมสันต์

 

หลวงสัมฤทธิสุขุมวาท

 

สุรใจ พูนทรัพย์

 

สาย เชนยวนิช

 

สเหวก นิรันดร

 

พระสุขุมวินิจฉัย

 

เสริม วินิจฉัยกุล

 

พระยาสาลีรัฐวิภาค (สงวน สาลีรัฐวิภาค)

 

เสมอ กัณฑาธัญ

 

สุวิชช พันธเศรษฐ

 

สุกิจ นิมมานเหมินท์

 

พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

 

อุดม สุขมาก

 

อร่าม เมนะคงคา

 

ผู้ดำรงตำแหน่ง แก้

ประธานสภาผู้แทนราษฎร พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)

รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 1 พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)

รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 2 พลตรี พระยาอานุภาพไตรภพ

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้