พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
พลเอก พระประจนปัจจนึก นามเดิม: พุก มหาดิลก (24 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) อดีตราชองครักษ์พิเศษ อดีตประธานรัฐสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) | |
---|---|
ประธานรัฐสภา | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ธันวาคม 2494 – 16 กันยายน 2500 (5 ปี 289 วัน) | |
กษัตริย์ | พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร |
ก่อนหน้า | พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) |
ถัดไป | หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) |
ดำรงตำแหน่ง 27 ธันวาคม 2500 – 20 ตุลาคม 2501 (0 ปี 297 วัน) | |
ก่อนหน้า | หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) |
ถัดไป | หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) |
ประธานสภาผู้แทนราษฎร | |
ดำรงตำแหน่ง 29 มีนาคม 2495 – 25 กุมภาพันธ์ 2500 (4 ปี 333 วัน) | |
ก่อนหน้า | พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) |
ถัดไป | ตัวเอง |
ดำรงตำแหน่ง 15 มีนาคม 2500 – 20 กันยายน 2500 (0 ปี 189 วัน) | |
ก่อนหน้า | ตัวเอง |
ถัดไป | หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) |
ดำรงตำแหน่ง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 – 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 (0 ปี 309 วัน) | |
ก่อนหน้า | หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) |
ถัดไป | ศิริ สิริโยธิน |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 25 มีนาคม พ.ศ. 2435 จังหวัดพระนคร ประเทศสยาม |
เสียชีวิต | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 (78 ปี) จังหวัดพระนคร ประเทศไทย |
คู่สมรส | พุ่ม ประจนปัจจนึก |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ไทย |
สังกัด | กองทัพบกไทย กรมราชองครักษ์ |
ประจำการ | 2453 - 2499 (กองทัพบก) 2499 - 2513 (กรมราชองครักษ์) |
ยศ | พลเอก |
ประวัติ
แก้พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) เกิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2435 ที่ตำบลวัดมกุฎกษัตริย์ อำเภอป้อมปราบ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของ นายเจิม และ นางจอน ประจนปัจจนึก สมรสกับ นางพุ่ม ประจนปัจจนึก มีบุตรธิดารวม 10 คน
การศึกษา
แก้พลเอก พระประจนปัจจนึก จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก
บรรดาศักดิ์
แก้- 13 มีนาคม 2494 – กลับคืนมามีบรรดาศักดิ์[1]
- – ถวายบังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์
- 7 พฤษภาคม 2471 – พระประจนปัจจนึก
- 7 พฤษภาคม 2463 – หลวงประจนปัจจนึก
ยศทางทหาร
แก้- 4 พฤษภาคม 2496 – พลเอก
- 7 กันยายน 2486 – พลโท
- 19 มิถุนายน 2486 พลตรี
- 1 เมษายน 2477 พันเอก
- 24 เมษายน 2474 พันโท
- 25 เมษายน 2465 พันตรี
- 23 พฤษภาคม 2459 ร้อยเอก
- 11 เมษายน 2455 ร้อยโท
- 12 มีนาคม 2453 ร้อยตรี
ตำแหน่งสำคัญทางทหาร
แก้- 13 กรกฎาคม 2493 - 18 มีนาคม 2499 ผู้อำนวยการองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
- 1 กันยายน 2487 ประจำกรมเสนาธิการ
- 31 สิงหาคม 2487 ผู้อำนวยการหน่วยโยธาธิการ
- 8 กรกฎาคม 2481 พลาธิการทหารบก
- 17 มิถุนายน 2481 ประจำกรมเสนาธิการทหารบก
- 4 เมษายน 2477 ผู้บังคับการมณฑลทหารบกที่ 1
- 7 มกราคม 2477 จเรทหารบก
- 1 มกราคม 2476 รองผู้บังคับการทหารราบ
- 1 สิงหาคม 2475 ผู้บังคับกองพัน ในกรมทหารราบที่ 4
- 2 ธันวาคม 2473 ผู้บังคับกองพันที่ 3 กรมทหารราบที่ 5
- 1 เมษายน 2471 ผู้บังคับกองพันที่ 2 กรมทหารมหาดเล็ก
- 1 พฤษภาคม 2470 ผู้บังคับกองพันที่ 3 กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
- 1 สิงหาคม 2469 ผู้บังคับกองพันที่ 2 กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
- 1 สิงหาคม 2462 ปลัดกรมทหารพราน ในกองพลทหารบกที่ 3
- มิถุนายน 2459 ผู้บังคับกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 2
- มกราคม 2456 ผู้บังคับกองร้อยที่ 2 กรมทหารราบที่ 2
- 2455 ผู้รั้งผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กรมทหารราบที่ 12
ตำแหน่งนายทหารพิเศษ
แก้- 4 กุมภาพันธ์ 2496 ราชองครักษ์พิเศษ
- 15 พฤษภาคม 2478 ราชองครักษ์เวร
ตำแหน่งสำคัญทางการเมือง
แก้- 1 ธันวาคม 2494 - 20 ตุลาคม 2501 - ประธานสภาผู้แทนราษฎร (11 สมัย)
- 12 กันยายน 2477 - 24 มิถุนายน 2487 - รองประธานสภาผู้แทนราษฎร (10 สมัย)
- 3 กุมภาพันธ์ 2502 - 30 มิถุนายน 2511 - สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
- 18 กันยายน 2500 - 20 ตุลาคม 2501 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2
- 30 พฤศจิกายน 2494 - 16 กันยายน 2500 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2[2]
- 24 พฤษภาคม 2489 - 9 พฤศจิกายน 2490 - สมาชิกวุฒิสภา
- 9 ธันวาคม 2476 - 10 พฤษภาคม 2489 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและเต่างประเทศ ดังนี้
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
แก้- พ.ศ. 2497 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[3]
- พ.ศ. 2495 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[4]
- พ.ศ. 2498 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[5]
- พ.ศ. 2484 – เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน (ช.ส.)[6]
- พ.ศ. 2477 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (พ.ร.ธ.)[7]
- พ.ศ. 2486 – เหรียญช่วยราชการเขตภายใน การรบสงครามมหาเอเชียบูรพา (ช.ร.)[8]
- พ.ศ. 2469 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[9]
- พ.ศ. 2481 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 2 (อ.ป.ร.2)[10]
- พ.ศ. 2496 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)[11]
- พ.ศ. 2468 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 7 (ร.ร.ศ.7)
- พ.ศ. 2493 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (ร.ร.ศ.9)
- พ.ศ. 2475 – เหรียญเฉลิมพระนคร 150 ปี (ร.ฉ.พ.)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
แก้- ไต้หวัน :
- พ.ศ. 2501 – เครื่องอิสริยาภรณ์ดาราอันสุกสกาว ชั้นที่ 1 (ชั้นสายสะพายชั้นพิเศษ)[12]
อนิจกรรม
แก้พลเอก พระประจนปัจจนึก ได้ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2513 รวมอายุได้ 78 ปี 248 วัน
อ้างอิง
แก้- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกลับคืนมามีบรรดาศักดิ์
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๘๔ ง หน้า ๒๘๐๗, ๑๔ ธันวาคม ๒๔๙๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๓๘ ง หน้า ๑๗๔๘, ๑๗ มิถุนายน ๒๔๙๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๓๖ ง หน้า ๑๑๑๙, ๑๗ พฤษภาคม ๒๔๙๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิและเครื่องหมายเปลวระเบิด สำหรับผู้กระทำความชอบได้รับบาดเจ็บ, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๘๑๐, ๑๕ เมษายน ๒๔๘๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความ เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๐๘๒, ๓๐ กันยายน ๒๔๗๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญช่วยราชการเขตภายใน, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๔๓ ง หน้า ๒๕๙๐, ๑๗ สิงหาคม ๒๔๘๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเหรียญราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๓๙๐, ๑๙ ธันวาคม ๒๔๖๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๕๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๖๐๘, ๒๓ มกราคม ๒๔๘๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๔๘ ง หน้า ๒๖๐๘, ๒๑ กรกฎาคม ๒๔๙๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๕ ตอนที่ ๖๙ ง หน้า ๒๔๕๔, ๒ กันยายน ๒๕๐๑