สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7
ชุดที่ 6 ชุดที่ 8
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมพระที่นั่งอนันตสมาคม
วาระ26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 – 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีแปลก 7
สภาผู้แทนราษฎร
สมาชิก246
ประธานพระประจนปัจจนึก
รองประธานคนที่ 1พระราชธรรมนิเทศ
ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495
ขุนคงฤทธิศึกษากร
ตั้งแต่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2498
รองประธานคนที่ 2พระยาอนุภาพไตรภพ
ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495
ขุนคงฤทธิศึกษากร
ตั้งแต่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2497
ขุนวิวรณ์สุขวิทยา
ตั้งแต่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2498
นายกรัฐมนตรีแปลก พิบูลสงคราม
พรรคครองพรรคธรรมาธิปัตย์

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิกภาพ

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แก้ไข

ประเภทที่ 1 แก้ไข

  ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
  ออกจากตำแหน่ง

มีรายนามดังนี้

พระนคร แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
พระนคร ประพัฒน์ วรรณธนะสาร   เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่
ฉัตร ศรียานนท์  
พลโทปลด ปลดปรปักษ์ พิบูลภานุวัธน์   เสียชีวิต
จันโนทัย ฤกษสุต   เลือกตั้งใหม่
จินตะเสน ไชยาคำ  
เพทาย อมาตยกุล  
โชติ คุณะเกษม  

ธนบุรี แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
ธนบุรี ไถง สุวรรณทัต  
เพทาย โชตินุชิต  

ภาคกลาง แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กำแพงเพชร ประสิทธิ์ ชูพินิจ  
ชัยนาท ไกรสร สุขสว่าง   เสียชีวิต
สง่า ศรีเพ็ญ   เลือกตั้งใหม่
นครนายก ทองพูน ทิมฉิม  
นครปฐม เรือเอกพระสาครบุรานุรักษ์  
สานนท์ สายสว่าง  
นครสวรรค์ สวัสดิ์ คำประกอบ  
สุนีรัตน์ เตลาน  
ขุนวิวรณ์สุขวิทยา  
นนทบุรี พันตรีหลวงราชเวชชพิศาล  
ปทุมธานี พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)  
พระนครศรีอยุธยา พันตรีหลวงจบกระบวนยุทธ  
ฟื้น สุพรรณสาร  
พิจิตร เผด็จ จิราภรณ์  
แก้ว สิงหคะเชนทร์  
พิษณุโลก ร้อยโทจงกล ไกรฤกษ์  
เพชรบูรณ์ พันตำรวจตรีสงกรานต์ อุดมสิทธิ์  
ลพบุรี ศิริ ภักดีวงศ์  
สมุทรปราการ เผด็จ ศิวะทัต  
สมุทรสงคราม เทพ สุวงศ์สินธุ์  
สมุทรสาคร พร มลิทอง  
สระบุรี พันเอกประมาณ อดิเรกสาร  
สิงห์บุรี เพียรศักดิ์ นิสสัยสุข  
สุโขทัย ธวัช ทานสัมฤทธิ์  
สุพรรณบุรี ถวิล วัฎฎานนท์  
สะอาด จันทร์ผา  
อ่างทอง พลตรีหลวงวิสิษฐยุทธศาสตร์  
อุทัยธานี พันตำรวจตรีหลวงเจริญตำรวจการ  

ภาคเหนือ แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
เชียงราย บุญช่วย ศรีสวัสดิ์  
บุณยฟาง ทองสวัสดิ์  
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)  
เชียงใหม่ พิรุณ อินทราวุธ  
สงวน ศิริสว่าง  
เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่  
เมธ รัตนประสิทธิ์  
น่าน เจ้าประดิษฐ์ ณ น่าน  
แพร่ วัง ศศิบุตร  
แม่ฮ่องสอน เสมอ กัณฑาธัญ  
ลำปาง บุญเท่ง ทองสวัสดิ์  
วิชัย โลจายะ  
ลำพูน ชัยวัธน์ อินทะพันธ์  
อุตรดิตถ์ ชิ้น อยู่ถาวร   เสียชีวิต
เทพ เกตุพันธุ์   เลือกตั้งใหม่

ภาคอีสาน แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ สุปัน พูลพัฒน์  
ชาญยุทธ ไชยคำมิ่ง  
ขอนแก่น ร้อยโทจารุบุตร เรืองสุวรรณ  
ประหยัด เอี่ยมศิลา  
สวัสดิ์ พึ่งตน  
แคล้ว นรปติ  
ชัยภูมิ วิเชียร สาคะริชานนท์  
พัฒน์ นิวาสานนท์  
นครพนม เอื้อ จันทรวงศ์  
พันธุ์ อินทุวงศ์  
นครราชสีมา เลื่อน พงษ์โสภณ  
ร้อยโทอู๊ด นิตยสุทธิ์  
ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)  
ยศ อินทรโกมาลย์สุต  
อารีย์ ตันติเวชกุล  
บุรีรัมย์ เสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา  
สอึ้ง มารังกูล  
มหาสารคาม หลวงบริหารชนบท   เสียชีวิต
บุญช่วย อัตถากร   เลือกตั้งใหม่
นาถ เงินทาบ  
ธรรมนูญ ภูมาศ  
ร้อยเอ็ด จรินทร์ สุวรรณธาดา  
ฉันท์ จันทชุม  
อัมพร สุวรรณบล  
นิวัติ พูนศรี ศรีสุวรนันท์  
เลย ร้อยตำรวจตรีสัมฤทธิ์ อินทรตระกูล  
ศรีสะเกษ ทิม ไชยงยศ  
เทพ โชตินุชิต  
มานิต อุทธิเสน  
สกลนคร หลวงปริวรรตวรวิจิตร  
เตียง ศิริขันธ์  
สุรินทร์ เหลื่อม พันธ์ฤกษ์  
ญาติ ไหวดี  
ยืน สืบนุการณ์  
หนองคาย ชื่น ระวิวรรณ  
อุดรธานี หลวงวิวิธสุรการ  
บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์  
สวน พรหมประกาย  
อุบลราชธานี เลียง ไชยกาล  
ยงยุทธ พึ่งภพ  
อรพินท์ ไชยกาล  
ดิเรก มณีรัตน์  
ทิม ภูริพัฒน์  
ผัน บุญชิต  

ภาคใต้ แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กระบี่ เนิ่น เกษสุวรรณ์  
ชุมพร พลเรือโทหลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)  
ตรัง ประภาส คงสมัย  
นครศรีธรรมราช น้อม อุปรมัย  
พันโททอง ศิริเวชพันธ์  
ปลื้ม กมุกมะกุล  
นราธิวาส เอิบ อิสสระ  
ปัตตานี พระพิพิธภักดี (ตนกูมุกดา อับดุลบุตร)  
พังงา โมรา ณ ถลาง  
พัทลุง ถัด พรหมมาณพ  
ภูเก็ต แร่ม พรหโมบล บุณยประสพ  
ยะลา ประสาท ไชยะโท  
ระนอง ระพีพรรณ พรหมวีระ  
สงขลา ประสิทธิ์ จุลละเกศ  
คล้าย ละอองมณี  
สตูล เจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ  
สุราษฎร์ธานี พันตำรวจเอกพัฒน์ นีลวัฒนานนท์  

ภาคตะวันออก แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
จันทบุรี สุรพงษ์ ตรีรัตน์  
ฉะเชิงเทรา จวน กุลละวณิชย์  
ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์  
ชลบุรี ชาย สุอังคะ  
ตราด หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร)  
ปราจีนบุรี พันตรีวิเชียร ศรีมันตร  
ร้อยโทพัฒน์ ณ ถลาง  
ระยอง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์  

ภาคตะวันตก แก้ไข

จังหวัด รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
กาญจนบุรี ฉาย วิโรจน์ศิริ  
ตาก เทียม ไชยนันทน์  
ประจวบคีรีขันธ์ ทองสืบ ศุภมาร์ค  
เพชรบุรี ขุนวิเทศดรุณการ (ชด มหาขันธ์)  
ราชบุรี สมบัติ สมบูรณ์ทรัพย์  
เทียม ณ สงขลา  

ประเภทที่ 2 แก้ไข

แต่งตั้ง เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494[1]

  ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ
  ออกจากตำแหน่ง
รายนาม สมาชิกภาพ หมายเหตุ
หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)  
กำปั่น กัมปนาทแสนยากร  
หลวงกรโกสียกาจ  
กฤช ปุณณกันต์  
เกษียร ศรุตตานนท์  
กฤษณ์ สีวะรา  
หม่อมหลวงขาบ กุญชร  
เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์  
หลวงจุลยุทธยรรยง  
เจียม ญาโณทัย  
เจริญ สุวรรณวิสูตร  
หลวงเจริญจรัมพร  
จำเป็น จารุเสถียร  
จิตติ นาวีเสถียร  
จำลอง ยงยุทธ  
จรูญ เฉลิมเตียรณ  
จิตร สุนทนานนท์  
จิตตเสน ปัญจะ  
เจริญ ปัณฑโร  
เฉลิม พงษ์สวัสดิ์  
เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร  
เฉลิม เชี่ยวสกุล  
หลวงเชิดวุฒากาศ  
หลวงโชติชนาภิบาล  
หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันท์)  
ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม  
ชลอ จารุกลัส  
ชื้น สนแจ้ง  
ชลอ สินธุเสนี  
ชู จันทรุเบกษา  
ชาติชาย ชุณหะวัณ  
ชาญ บุญญสิทธิ์  
เชิดชัย ทองสิงห์  
หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี)  
ชวน จนิษฐ์  
ณรงค์ สาลีรัฐวิภาค  
เดช เดชประดิยุทธ  
ตรี บุณยกนิษฐ์  
ไตรเดช ปั้นตระกูล  
ถนอม กิตติขจร  
ทัศน์ กรานเลิศ  
เทพ เกษมุติ  
ทวี จุลละทรัพย์  
ทม จิตรวิมล  
น้อม เกตุนุติ  
นักรบ บิณษรี  
พระนิติธารณ์พิเศษ  
บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา  
บุญชัย บำรุงพงศ์  
พระบริรักษ์เวชชการ  
แปลก พิบูลสงคราม  
พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)  
ปลด ปลดปรปักษ์ พิบูลภานุวัธน์  
ปรุง รังสิยานนท์  
ประยูร ภมรมนตรี  
หลวงปรุงปรีชากาศ  
ประภาส จารุเสถียร  
ประเสริฐ รุจิรวงศ์  
พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)  
ประเสริฐ ศุขสมัย  
ประมาณ อดิเรกสาร  
หลวงประชาสัยสรเดช  
ประจวบ บุญนาค  
ผิน ชุณหะวัณ  
เผชิญ นิมิบุตร  
เผ่า ศรียานนท์  
ผาด ตุงคะสมิต  
เพิ่ม ลิมบี่สวัสดิ์  
พระพินิจชนคดี (พินิจ อินทรทูต)  
หลวงพิชิตธุระการ  
เพียร สฤษฏ์ยุทธศิลป์  
พิชัย กุลละวณิชย์  
ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี  
เฟื่อง เฟื่องวุฒิราญ  
เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ  
หลวงพรหมโยธี (มังกร พรหมโยธี)  
หลวงมงคลยุทธนาวี  
มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์  
มนัส เหมือนทองจีน  
หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)  
เรือง เรืองวีรยุทธ  
หลวงรณสิทธิพิชัย  
พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)  
เล็ก สงวนชาติสรไกร  
ลม้าย อุทยานนท์  
เลื่อน พงษ์โสภณ  
หลวงวิทิตกลชัย  
วิชัย พงษ์อนันต์  
หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)  
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)  
ขุนวิจารณ์คาวี  
ขุนศิลป์ศรชัย  
ศิริ สิริโยธิน  
สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ  
หลวงสวัสดิ์สรยุทธ์  
สฤษดิ์ ธนะรัชต์  
สวัสดิ์ สวัสดิ์รณรงค์  
สุทธิ์ สุทธิสารรณกร  
สถิตย์ สถิตย์ยุทธการ  
ไสว ไสวแสนยากร  
หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์)  
สุนทร สุนทรนาวิน  
สงบ จรูญพร  
เสนาะ รักธรรม  
สนอง ธนศักดิ์  
สุกษม เกษมสันต์  
หลวงสัมฤทธิสุขุมวาท  
สุรใจ พูนทรัพย์  
สาย เชนยวนิช  
สเหวก นิรันดร  
พระสุขุมวินิจฉัย  
เสริม วินิจฉัยกุล  
พระยาสาลีรัฐวิภาค  
เสมอ กัณฑาธัญ  
สุวิชช พันธเศรษฐ  
สุกิจ นิมมานเหมินท์  
พระยาอานุภาพไตรภพ  
อุดม สุขมาก  
อร่าม เมนะคงคา  

ผู้ดำรงตำแหน่ง แก้ไข

ประธานสภาผู้แทนราษฎร พลเอกพระประจนปัจจนึก

รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2498) ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) ดำรงตำแหน่งแทน

รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง พลตรีพระยาอนุภาพไตรภพ (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2496) ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) ดำรงตำแหน่งแทน (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2498) ขุนวิวรณ์สุขวิทยา ดำรงตำแหน่งแทน (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2498)

อ้างอิง แก้ไข

แหล่งข้อมูลอื่น แก้ไข