สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 (15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | สภาผู้แทนราษฎร | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | พระที่นั่งอนันตสมาคม | ||||
วาระ | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 – 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีถนอม 1 | ||||
ฝ่ายค้าน | พรรคประชาธิปัตย์ | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
สมาชิก | 283 | ||||
ประธาน | พระประจนปัจจนึก | ||||
รองประธานคนที่ 1 | ขุนวิวรณ์สุขวิทยา | ||||
รองประธานคนที่ 2 | ประสิทธิ์ จุลละเกศ | ||||
นายกรัฐมนตรี | ถนอม กิตติขจร | ||||
พรรคครอง | พรรคชาติสังคม |
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน อยู่ในตำแหน่ง 5 ปี (ตามกฎหมายกำหนด)
ต่อมาในปี พ.ศ. 2501 ได้พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 เพิ่มขึ้นเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ที่ต้องออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2501 เนื่องจากมีผู้จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาเกินกึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งใน 5 จังหวัด[1] จึงให้มีการเลือกตั้งเพิ่มเติม เป็นแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 186 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 97 คน
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรคและภาค (ประเภทที่ 1)
แก้พรรค | แบ่งเขต (ณ วันสิ้นสุดอายุของสภาฯ) | รวม | |||||||
พระนคร | ธนบุรี | กลาง | เหนือ | อีสาน | ใต้ | ตะวันออก | ตะวันตก | ||
ไม่สังกัดพรรค | 1 | - | 15 | 7 | 23 | 7 | 6 | 3 | 62 |
ชาติสังคม | - | - | 16 | 3 | 27 | 7 | 2 | 3 | 58 |
ประชาธิปัตย์ | 17 | 6 | 4 | 10 | 4 | 8 | 1 | 2 | 52 |
เศรษฐกร | - | - | - | - | 6 | - | - | - | 6 |
เสรีประชาธิปไตย | - | - | - | - | 5 | - | - | - | 5 |
ชาตินิยม | - | - | - | 1 | - | - | - | - | 1 |
ขบวนการไฮด์ปาร์ค | - | - | - | - | 1 | - | - | - | 1 |
อิสระ | - | - | - | - | 1 | - | - | - | 1 |
รวม | 18 | 6 | 35 | 21 | 67 | 22 | 9 | 8 | 186 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แก้ประเภทที่ 1
แก้ ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
มีรายนามดังนี้[2]
พระนคร
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
พระนคร | พันตรีควง อภัยวงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
หลวงอังคณานุรักษ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
นาวาโทพระประยุทธชลธี | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
พลเรือตรีชลิต กุลกำม์ธร | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
ร้อยโทถวิล ระวังภัย | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
สมบุญ ศิริธร | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
นาวาเอกหลวงศุภชลาศัย | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
หลวงศรีสาลีพิช | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
พลเอกเภา บริภัณฑ์ยุทธกิจ | ไม่สังกัดพรรค |
ธนบุรี
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ธนบุรี | ไถง สุวรรณทัต | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
พลเรือตรีทหาร ขำหิรัญ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
มนัส สุวรรณทัต | พรรคประชาธิปัตย์ |
ภาคกลาง
แก้ภาคเหนือ
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
เชียงราย | ส่งศักดิ์ สายปัญญา | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคเสรีมนังคศิลา | ||
แถม นุชเจริญ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
ประพันธ์ อัมพุช | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ | ไม่สังกัดพรรค | |||
เชียงใหม่ | เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ | ไม่สังกัดพรรค | ||
ทองดี อิสราชีวิน | ไม่สังกัดพรรค | |||
สุกิจ นิมมานเหมินท์ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | ||
วรศักดิ์ นิมานันท์ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
ไกรสร ตันติพงศ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
น่าน | สมบูรณ์ บัณฑิต | ไม่สังกัดพรรค | ||
แพร่ | ไชย วงศ์สว่าง | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ทอง กันทาธรรม | พรรคชาตินิยม | |||
แม่ฮ่องสอน | นิกร จันทรวิโรจน์ | ไม่สังกัดพรรค | ||
ลำปาง | บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
บุญเรือง ชุ่มอินทรจักร | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
อินทูร วรกุล | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
ลำพูน | บุญศรี ปรีคำ | ไม่สังกัดพรรค | ||
บุญมี ตุงคนาคร | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
อุตรดิตถ์ | สมพงษ์ หาญประเสริฐ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
ส่ง ศัลยพงศ์ | ไม่สังกัดพรรค |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แก้ภาคใต้
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กระบี่ | ฟื้น สุคนธกนิษฐ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ชุมพร | ศิรินทร์ รักศรีวงษ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ตรัง | ก่อเกียรติ ษัฎเสน | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
นครศรีธรรมราช | ไสว สวัสดิสาร | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
น้อม อุปรมัย | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | ||
ฉ่ำ จำรัสเนตร | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | ||
ปรีดา ด่านตระกูล | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | ||
นราธิวาส | โสภณ เอี่ยมอิทธิพล | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
เอิบ อิสสระ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | ||
ปัตตานี | อามีน โต๊ะมีนา | ไม่สังกัดพรรค | ||
เจริญ สืบแสง | ไม่สังกัดพรรค | |||
พังงา | สาคร กลิ่นผกา | ไม่สังกัดพรรค | ||
พัทลุง | ขาว อินทร์ด้วง | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ภูเก็ต | แร่ม พรหโมบล บุณยประสพ | ไม่สังกัดพรรค | ||
ยะลา | อดุล ภูมิณรงค์ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
ระนอง | สุนีรัตน์ เตลาน | ไม่สังกัดพรรค | ||
สงขลา | ประสิทธิ์ จุลละเกศ | ไม่สังกัดพรรค | ||
คล้าย ละอองมณี | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
เชื้อ ทิพย์มณี | ไม่สังกัดพรรค | |||
สตูล | เจ๊ะอับดุลลาห์ หลังปูเต๊ะ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
สุราษฎร์ธานี | ลออง แสงเดช | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
โชติ วิชัยดิษฐ | พรรคประชาธิปัตย์ |
ภาคตะวันออก
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
จันทบุรี | สุรพงษ์ ตรีรัตน์ | ไม่สังกัดพรรค | ||
ฉะเชิงเทรา | พิชัย ศิริวรรณ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ | ไม่สังกัดพรรค | |||
ชลบุรี | ธรรมนูญ เทียนเงิน | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
พลตรีศิริ สิริโยธิน | ไม่สังกัดพรรค | |||
ตราด | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
ปราจีนบุรี | พันตรีวิเชียร ศรีมันตร | ไม่สังกัดพรรค | ||
พันเอกหลวงบุรกรรมโกวิท (ล้อม บุรกรรมโกวิท) | ไม่สังกัดพรรค | |||
ระยอง | เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ | ไม่สังกัดพรรค |
ภาคตะวันตก
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาญจนบุรี | แผน สิริเวชชะพันธ์ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
ตาก | เทียม ไชยนันทน์ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ประจวบคีรีขันธ์ | ต้าน ประจวบเหมาะ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
เพชรบุรี | ผาด อังกินันทน์ | พรรคชาติสังคม | ย้ายมาจากพรรคสหภูมิ | |
พานิช สัมภวคุปต์ | ไม่สังกัดพรรค | |||
ราชบุรี | สมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ | ไม่สังกัดพรรค | ||
ร้อยเอกประลอง บูชา | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
ปฐม โพธิ์แก้ว | ไม่สังกัดพรรค |
ประเภทที่ 2
แก้ ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
การเลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2501
แก้ผลการเลือกตั้งเพิ่มเติม พ.ศ. 2501[3]
พระนคร
แก้ธนบุรี
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ธนบุรี | พลเรือตรี ชลี สินธุโสภณ | พรรคประชาธิปัตย์ | ||
ประสิทธิ์ แย้มเพียร | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
ชาย สัจจะ | พรรคประชาธิปัตย์ |
กาฬสินธุ์
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาฬสินธุ์ | เหรียญ สืบพันธุ์ | พรรคชาติสังคม | ||
ถาวร คะโยธา | ไม่สังกัดพรรค | |||
มานิต ไสยวิจิตร | พรรคชาติสังคม |
ร้อยเอ็ด
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ร้อยเอ็ด | เทพเจริญ พูลลาภ | พรรคชาติสังคม | ||
ชอ สายเชื้อ | พรรคชาติสังคม | |||
มานิต มาศเกษม | ไม่สังกัดพรรค | |||
เพชร จันทราช | พรรคชาติสังคม |
อุบลราชธานี
แก้จังหวัด | รายนาม | พรรค | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
อุบลราชธานี | อรพินท์ ไชยกาล | ไม่สังกัดพรรค | ||
ยงยุทธ พึ่งภพ | ไม่สังกัดพรรค | |||
ดิเรก มณีรัตน์ | พรรคชาติสังคม | |||
กลิ่น ปลั่งนิล | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
ฟอง การินทร์ | พรรคชาติสังคม | |||
ขุนวรวาทพิสุทธิ์ | พรรคชาติสังคม | |||
สุวิชช์ จิตตะยะโสธร | พรรคชาติสังคม |
ผู้ดำรงตำแหน่ง
แก้ประธานสภาผู้แทนราษฎรอาวุโส หลวงศรีสาลีพิช
ประธานสภาผู้แทนราษฎร พลเอกพระประจนปัจจนึก
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง ขุนวิวรณ์สุขวิทยา
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง ประสิทธิ์ จุลละเกศ
การเลือกผู้ดำรงตำแหน่ง
แก้ตำแหน่ง | ชื่อ | คะแนนเสียง |
---|---|---|
ประธานสภาผู้แทนราษฎร | พลเอกพระประจนปัจจนึก[4] | 170 |
นาวาเอกหลวงศุภชลาศัย | 45 | |
บัตรเสีย | 16 | |
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง | ขุนวิวรณ์สุขวิทยา | 160 |
พลเรือตรีชลิต กุลกำม์ธร | 42 | |
บัตรเสีย | 19 | |
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง | ประสิทธิ์ จุลละเกศ | 148 |
เทียม ไชยนันทน์ | 44 | |
บัตรเสีย | 27 |
อ้างอิง
แก้- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 เพิ่มขึ้นเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ที่ต้องออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2501
- ↑ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไป พ.ศ. ๒๕๐๐ ครั้งที่ ๒
- ↑ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๑ เพิ่มแทนประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9เก็บถาวร 2020-08-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน