วิกิพีเดีย:โครงการวิกิบทความเฉลิมพระเกียรติ

โครงการวิกิบทความเฉลิมพระเกียรติ
สมาชิก
สารบัญ


โครงการวิกิบทความเฉลิมพระเกียรติ เป็นโครงการร่วมเขียนบทความเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยเขียนและคัดเลือกบทความในวิกิพีเดียเป็นบทความเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งบทความที่ได้รับคัดเลือกเป็นบทความที่สมบูรณ์ น่าสนใจ และเหมาะสมสำหรับเผยแพร่ความรู้แก่เยาวชนและประชาชนทั่วไปไว้ศึกษา โครงการนี้เริ่มต้นเมื่อ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โดยมีเป้าหมายว่าในวันเดียวกันปี พ.ศ. 2550 ข้อมูลจะพร้อมเผยแพร่แจกจ่ายไม่เพียงแต่บนเว็บไซต์วิกิพีเดียเท่านั้น ยังรวมไปถึงให้ทุกแหล่งสามารถนำความรู้จากบทความเฉลิมพระเกียรติไปใช้ได้ฟรี ไม่ว่าทางโรงเรียนที่ต้องการนำไปใช้ หรือผู้ที่สนใจนำไปไว้ในเว็บไซต์ของตนเอง รวมไปถึงการแจกจ่ายเป็นซีดีสำหรับคอมพิวเตอร์ที่ไม่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา หรือแม้แต่จัดทำเป็นรูปเล่ม (ขึ้นอยู่กับผู้ร่วมโครงการจะสนับสนุนและจัดทำ) รวมไปถึงการแจกจ่ายผ่านทางบิตทอร์เรนต์ให้สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี

บทความจะถูกเสนอชื่อและคัดเลือกโดยทุกคน โดยมีเป้าหมายว่าบทความเหล่านี้จะเป็นบทความที่น่าสนใจ เป็นความรู้ทั่วไปที่มีประโยชน์ ควรค่าแก่การเผยแพร่ และสนับสนุนให้เด็กได้รับความรู้พื้นฐานในทุกแขนงอย่างเต็มที่ ตัวอย่างบทความเช่น พระมหากษัตริย์ไทย ประเทศไทย ภูมิศาสตร์ ไดโนเสาร์ วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ สำหรับผู้สนใจสามารถร่วมลงชื่อได้ในหน้าพูดคุยของบทความนี้

เงื่อนไขในการคัดเลือก

แก้
  1. บทความสารานุกรมเรื่องที่เหมาะสมสำหรับทุกคนและเป็นความรู้ที่เหมาะสมสำหรับเด็กในการเริ่มต้นเรียนรู้ โดยเน้นที่คุณภาพของบทความมากกว่าปริมาณของบทความ
  2. เนื้อหาไม่เพียงแต่สมบูรณ์เท่านั้นยังต้องไม่ละเมิดลิขสิทธิ์จากเว็บอื่น เพื่อสอนให้เด็กรับรู้ถึงเรื่องการไม่คัดลอก เข้าใจถึงการเคารพในเรื่องลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา และยังเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของบทความเอง บทความที่ละเมิดลิขสิทธิ์จะถูกแจ้งลบ
  3. บทความจะถูกตรวจสอบการใช้คำ การใช้ภาษาไทยถูกต้องตามหลักภาษาไทย
  4. บทความที่จะไม่นำมารวมได้แก่ บทความเชิงวิชาการ วิทยานิพนธ์ บทความวิจัยใหม่ ซึ่งเป็นบทความในเชิงลึกและทำให้เกิดความสับสนได้ง่าย
  5. บทความจะต้องผ่านเกณฑ์บทความที่ดี ขึ้นไป

ทำไมต้องวิกิพีเดีย

แก้
  1. วิกิพีเดียมีระบบซอฟต์แวร์ชื่อมีเดียวิกิ ที่ส่งเสริมให้ผู้อ่านสืบค้นข้อมูลผ่านทางจุดเชื่อมโยงหลายส่วน และมีการจัดหมวดหมู่ที่เหมาะสมเป็นลำดับขั้น ทำให้ง่ายและเกิดความสนุกในการอ่านข้อมูล
  2. วิกิพีเดียใช้คำสั่งที่ไม่ซับซ้อนทำให้ผู้ร่วมเขียนสามารถสร้างบทความได้อย่างง่ายดาย
  3. วิกิพีเดียมีข้อมูล 169,481 เรื่องที่เป็นภาษาไทยแล้วในฐานข้อมูล และมีข้อมูลในภาษาอื่น ไม่ว่า ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน หรือภาษาญี่ปุ่น มากกว่าหนึ่งล้านเรื่อง ซึ่งเชื่อมโยงกับบทความภาษาไทยเองพร้อมใช้ในการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
  4. วิกิพีเดียเปิดโอกาสให้ทุกคนร่วมเขียน ไม่จำกัดฐานะ เพศ หรือวัย ทำให้ข้อมูลที่เขียนโดยทุกคนมีมุมมองที่กว้างและเป็นกลาง
  5. วิกิพีเดียจัดทำโดยทุกคนและเพื่อทุกคน โดยลิขสิทธิ์ข้อมูลของวิกิพีเดียแจกจ่ายอย่างเสรีให้ทุกคนนำไปใช้โดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งด้วยเงื่อนไขนี้สามารถเผยแพร่ความรู้สู่ทุกคนในประเทศไทยได้อย่างเสรีและรวดเร็วโดยไม่จำเป็นต้องทำเรื่องขออนุญาตก่อนนำไปใช้ (อ่านเพิ่มที่ ลิขสิทธิ์ของวิกิพีเดีย)
  6. วิกิพีเดียมีการปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา ทำให้ข้อมูลใหม่มีการปรับปรุงตลอดเวลา

รายชื่อบทความ

แก้

รายชื่อบทความด้านล่าง เสนอชื่อโดยชาววิกิพีเดียทุกคนซึ่งรวมถึงคุณ เพื่อจัดทำเป็นบทความเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 800 เรื่อง โดยเป็นบทความที่ผู้เสนอชื่อเห็นว่า มีหัวข้อน่าสนใจเหมาะกับการเป็นสารานุกรมที่จะเผยแพร่แก่เด็กและประชาชนทั่วไป ให้นำไปศึกษาเพิ่มพูนความรู้ในวงกว้างต่อไป

สำหรับเรื่องที่ยังไม่มีในวิกิพีเดียนั้นคุณสามารถร่วมเสนอชื่อ และร่วมเขียนได้ (ถ้าคุณเพิ่งเริ่มต้นกับวิกิพีเดีย แนะนำให้อ่านที่ เริ่มต้นกับวิกิพีเดีย และ นโยบายวิกิพีเดีย) และถ้าชื่อมีมากกว่าจำนวนที่ต้องการคุณสามารถจัดเรียงเพิ่มตามความเหมาะสม หรือเสนอแนะในหน้าพูดคุย

(สำหรับตรวจสอบการแก้ไขล่าสุดดูที่ ตรวจสอบล่าสุด)

เสนอรายชื่อบทความร่วมเฉลิมพระเกียรติที่นี่

แก้

รายชื่อบทความจะมีความหลากหลาย สามารถเสนอชื่อบทความที่เหมาะสมได้จากทุกหมวดหมู่ โดยรวมถึงเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเรื่องราวที่เป็นพื้นฐานความรู้ที่น่าสนใจและมีประโยชน์ เพื่อนำไปเผยแพร่แจกจ่ายเป็นฐานความรู้แก่คนทั่วไป

หน้าที่เสนอ จะติดป้ายโครงการ {{บทความเฉลิมพระเกียรติ}} ไว้ที่หน้าพูดคุยเพื่อนับจำนวน การนับยอด บทความ ดูที่ หมวดหมู่:บทความเฉลิมพระเกียรติ

บทความเกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

แก้
บทความเฉลิมพระเกียรติ ความสำคัญ
ไม่มี ทั้งหมด
คุณภาพ
   คัดสรร  25 25
   คุณภาพ  11 11
ดี 96 96
พอใช้ 181 181
โครง 111 111
รายชื่อ 9 9
จัดระดับแล้ว 433 433
ยังไม่ได้จัดระดับ 1 1
ทั้งหมด 434 434

วันสำคัญ

แก้
  1. 5 พฤษภาคม (วันฉัตรมงคล ในรัชกาลที่ 9)
  2. 9 มิถุนายน (วันครองราชย์ของรัชกาลที่ 9)
  3. 28 กรกฎาคม (วันเฉลิมพระชนมพรรษารัชกาลที่ 10)
  4. 13 ตุลาคม (วันสวรรคตของรัชกาลที่ 9 หรือวันนวมินทรมหาราช)
  5. 16 ตุลาคม (วันผนวชในรัชกาลที่ 9)
  6. 5 ธันวาคม (วันเฉลิมพระชนมพรรษารัชกาลที่ 9 หรือวันพ่อแห่งชาติ)

บุคคลสำคัญ

แก้
  1. ราชวงศ์จักรี
  2. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
  3. พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
  4. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
  5. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
  6. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
  7. สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
  8. พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
  9. สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
  10. สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  11. สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี
  12. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
  13. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
  14. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
  15. สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา
  16. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา
  17. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ
  18. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์
  19. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ

เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์

แก้
  1. กกุธภัณฑ์
  2. เครื่องราชูปโภค
  3. ธงพระอิสริยยศ
  4. ธงมหาราช
  5. ธงไชยเฉลิมพล
  6. สำนักพระราชวัง
  7. สำนักราชเลขาธิการ
  8. สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์
  9. มูลนิธิราชประชานุเคราะห์
  10. มูลนิธิชัยพัฒนา
  11. มูลนิธิอานันทมหิดล
  12. มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
  13. พระพุทธรูป ภปร.
  14. พระพุทธนวราชบพิตร
  15. พระสมเด็จจิตรลดา
  16. รถยนต์พระที่นั่ง

สถานที่สำคัญ

แก้
  1. โรงเรียนจิตรลดา
  2. โรงเรียนวังไกลกังวล
  3. วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
  4. สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
  5. โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย
  6. โรงพยาบาลเมาท์ออเบิร์น
  7. เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์
  8. มหาวิทยาลัยโลซาน
  9. มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
  10. พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
  11. พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์
  12. พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์
  13. พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์
  14. พระที่นั่งวิมานเมฆ
  15. พระที่นั่งอัมพรสถาน
  16. พระบรมมหาราชวัง
  17. พระบรมราชสัญลักษณ์ 9 รัชกาล
  18. พระพุทธนวราชบพิตร
  19. พระราชวังดุสิต
  20. พระราชอาสน์
  21. ร้านโกลเด้นเพลซ
  22. วังไกลกังวล
  23. วังสระปทุม
  24. วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร
  25. สถานีวิทยุ อ.ส.
  26. สถานีรถไฟจิตรลดา
  27. อุทยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

พระราชพิธีสำคัญ

แก้
  1. กระบวนพยุหยาตราชลมารค
  2. เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9
  3. เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์
  4. การเสด็จออกสีหบัญชร ในรัชกาลที่ 9
  5. พิธีถวายเครื่องราชสักการะ และจุดเทียนชัยถวายพระพร
  6. พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์
  7. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา
  8. พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พุทธศักราช 2539
  9. พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี
  10. พระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9
  11. พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2493
  12. พระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม
  13. พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ
  14. พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ในรัชกาลที่ 9
  15. พระราชพิธีรัชดาภิเษก พุทธศักราช 2514
  16. พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก 2 กรกฎาคม พุทธศักราช 2531
  17. รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
  18. กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
  19. ของที่ระลึกเนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี
  20. คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
  21. งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549
  22. งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
  23. ตราสัญลักษณ์งานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
  24. ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2550
  25. กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2550
  26. พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554
  27. พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

โครงการพระราชดำริ

แก้
  1. พระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช
  2. พระราชดำรัส 4 ธันวาคม
  3. พระราชดำรัสพระราชทานพรในโอกาสขึ้นปีใหม่
  4. โครงการฝนหลวง
  5. โครงการพระราชดำริ
  6. โครงการหลวง
  7. เศรษฐกิจพอเพียง
  8. แก๊สโซฮอล์
  9. กังหันชัยพัฒนา
  10. ทฤษฎีใหม่
  11. ไบโอดีเซล
  12. เครือข่ายกาญจนาภิเษก
  13. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
  14. สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก

งานฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

แก้
  1. ห้วยฮ่องไคร้
  2. เขาหินซ้อน
  3. แหลมผักเบี้ย
  4. อ่าวคุ้งกระเบน
  5. แก้มลิง
  6. แกล้งดิน
  7. โครงการหญ้าแฝก
  8. โครงการเกษตรที่สูงดอยวาวี

นันทนาการส่วนพระองค์

แก้
  1. พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
  2. เพลงพระราชนิพนธ์
  3. รายการศึกษาทัศน์
  4. เรือใบมด
  5. วง อ.ส. วันศุกร์
  6. วงดนตรีสหายพัฒนา
  7. วงลายคราม
  8. สุนัขทรงเลี้ยง
  9. ส.ค.ส. พระราชทาน

บทความพื้นฐานที่รวมเข้าไปในโครงการ

แก้

วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์

แก้
  1. วิทยาศาสตร์
  2. ดาราศาสตร์
  3. สึนามิ
  4. อินทรีย์เคมี
  5. ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ

คณิตศาสตร์

  1. เรขาคณิต
  2. เลขฐาน 10

ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์

แก้

ภูมิศาสตร์

  1. ประเทศไทย
  2. กรุงเทพมหานคร
  3. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  4. ที่สุดในประเทศไทย
  5. ท้องสนามหลวง
  6. ถนนเจริญกรุง
  7. แม่น้ำเจ้าพระยา
  8. คลองผดุงกรุงเกษม
  9. สะพานพระราม 8
  10. สะพานพระราม 9
  11. เขื่อนภูมิพล
  12. เขื่อนสิริกิติ์
  13. พระที่นั่งอนันตสมาคม
  14. ลานพระบรมรูปทรงม้า
  15. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
  16. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
  17. หออัครศิลปิน
  18. หอมรดกไทย
  19. สวนหลวง ร.9
  20. สวนลุมพินี
  21. สวนสันติชัยปราการ
  22. อนุสรณ์สถานแห่งชาติ
  23. ประตูท่าแพ
  24. พระราชวังโบราณ อยุธยา
  25. พระธาตุพนม
  26. ปราสาทหินพนมรุ้ง
  27. พระบรมธาตุไชยา

ประวัติศาสตร์

  1. กบฏดุซงญอ
  2. ประวัติศาสตร์ไทย
  3. ปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้
  4. พิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
  5. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
  6. อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

ชีวประวัติ

  1. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
  2. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
  3. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
  4. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน
  5. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
  6. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
  7. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
  8. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต
  9. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
  10. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช
  11. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์
  12. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร
  13. หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
  14. หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี
  15. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
  16. พระยามานวราชเสวี
  17. หลวงอดุล อดุลเดชจรัส
  18. แก้วขวัญ วัชโรทัย
  19. ขวัญแก้ว วัชโรทัย
  20. ปรีดี พนมยงค์
  21. อาสา สารสิน

วิทยาศาสตร์ประยุกต์

แก้

คอมพิวเตอร์

  1. คอมพิวเตอร์
  2. อัลกอริทึม
  3. อินเทอร์เน็ต
  4. อีเมล

แพทยศาสตร์

  1. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  2. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  3. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  4. โรคงูสวัด
  5. โรคพิษสุนัขบ้า
  6. โรคอีสุกอีใส
  7. โรงพยาบาลศิริราช
  8. โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  9. ไข้หวัดนก
  10. สภากาชาดไทย
  11. มูลนิธิแพทย์อาสา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

เกษตรกรรม

  1. ข้าว
  2. โคนม
  3. มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549

วิศวกรรมและสิ่งประดิษฐ์

  1. กระดาษ

คหกรรม

สังคมศาสตร์และศาสนา

แก้

ภาษา

  1. ตระกูลอักษรพราหฺมี
  2. ภาษาเกาหลี
  3. ภาษาเขมร
  4. ภาษาตากาล็อก
  5. ภาษาเตตุม
  6. ภาษาไทย
  7. ภาษาญี่ปุ่น
  8. ภาษาพม่า
  9. ภาษามลายูปัตตานี
  10. ภาษามาเลย์
  11. ภาษาลาว
  12. ภาษาเวียดนาม
  13. ภาษาอินโดนีเซีย
  14. ภาษาสันสกฤต
  15. อักษรกันนาดา
  16. อักษรคุชราต
  17. อักษรเทวนาครี
  18. อักษรไทย
  19. อักษรยาวี

ศาสนา

  1. เสาชิงช้า
  2. คริสต์ศาสนา
  3. พระไตรปิฎก
  4. พระสยามเทวาธิราช
  5. พระอัญญาโกณฑัญญะ
  6. พุทธศาสนา
  7. ละหมาด
  8. วัดไทย
  9. วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
  10. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
  11. วันเข้าพรรษา
  12. ศาสนาอิสลาม
  13. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
  14. พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)
  15. แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต

รัฐศาสตร์และนิติศาสตร์

  1. ประชาธิปไตย
  2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
  3. รัฐนิยม

เศรษฐศาสตร์

  1. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  2. ธนาคารออมสิน

การศึกษา

  1. โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
  2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  3. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  4. มหาวิทยาลัยนเรศวร
  5. มหาวิทยาลัยราชภัฏ
  6. พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

วัฒนธรรม ประเพณี

  1. เรือนไทย
  2. คำขวัญประจำจังหวัด
  3. ธงชาติไทย
  4. มูลนิธิสายใจไทย
  5. ร้านภูฟ้า
  6. วันพืชมงคล
  7. วันสำคัญในประเทศไทย

การทหาร

  1. กองทัพบกไทย
  2. กองทัพเรือไทย
  3. กองทัพอากาศไทย

ศิลปะ, กีฬาและวรรณกรรม

แก้

ดนตรี

  1. เกียรติศักดิ์ทหารเสือ
  2. เขมรไทรโยค
  3. เครื่องดนตรีไทย
  4. เพลงชาติไทย
  5. เพลงมหาชัย
  6. เพลงสรรเสริญพระบารมี
  7. แจ๊ส
  8. ต้นตระกูลไทย (เพลง)
  9. ตื่นเถิดชาวไทย
  10. วงดนตรีสุนทราภรณ์
  11. ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา
  12. สดุดีมหาราชา
  13. สยามานุสติ

กีฬา

  1. เรือใบ
  2. แบดมินตัน
  3. โผน กิ่งเพชร
  4. จำเริญ ทรงกิตรัตน์
  5. ชาติชาย เชี่ยวน้อย
  6. ผล พระประแดง
  7. ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ

วรรณกรรม

  1. เพชรพระอุมา
  2. พระมหาชนก
  3. รามเกียรติ์
  4. อิเหนา
  5. อุณรุท
  6. พระอภัยมณี