ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ (อังกฤษ: King's Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศชิงถ้วยพระราชทานของพระมหากษัตริย์ไทย โดยจัดขึ้นที่ประเทศไทย เริ่มจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2511 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และมีการจัดต่อเนื่องทุกปีจนถึงปัจจุบัน โดยในบางปีจะมีการรับเชิญทีมสโมสรมาร่วมแข่งด้วย ทีมที่ชนะสูงสุดคือฟุตบอลทีมชาติไทย (ทีมเจ้าภาพ) ซึ่งได้ไปถึง 15 สมัย

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ
ประเทศที่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
ผู้จัดสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ก่อตั้งพ.ศ. 2511; 56 ปีที่แล้ว (2511)
ภูมิภาคระหว่างประเทศ
จำนวนทีม4
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติอิรัก อิรัก (1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติไทย ไทย (15 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์ไทยรัฐทีวี
เอไอเอส เพลย์
ครั้งที่ 49 (พ.ศ. 2566)

ผลการแข่งขัน

แก้
ครั้งที่ ปี ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ
ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการแข่งขัน อันดับ 4
49 2566  
อิรัก
2–2
(5−4 ลูกโทษ)
 
ไทย
 
เลบานอน
1 - 0  
อินเดีย
48 2565  
ทาจิกิสถาน
0 - 0
(ลูกโทษ 3-0)
 
มาเลเซีย
 
ไทย
2 - 1  
ตรินิแดดและโตเบโก
พ.ศ. 2563 - 2564 ไม่มีการจัด
47 2562  
กูราเซา
1 - 1
(ลูกโทษ 5-4)
 
เวียดนาม
 
อินเดีย
1 - 0  
ไทย
46 2561  
สโลวาเกีย
3 - 2  
ไทย
 
กาบอง
1 - 0  
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
45 2560  
ไทย
0 - 0
(ลูกโทษ 5-4)
 
เบลารุส
 
บูร์กินาฟาโซ
3 - 3
(ลูกโทษ 4-3)
 
เกาหลีเหนือ
44 2559  
ไทย
2 - 0  
จอร์แดน
 
ซีเรีย
1 - 0  
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
43 2558  
เกาหลีใต้ U-23
พบกันหมด  
ไทย
 
อุซเบกิสถาน U-23
พบกันหมด  
ฮอนดูรัส U-20
พ.ศ. 2557 ไม่มีการจัด
42 2556  
สวีเดน
3 - 0  
ฟินแลนด์
 
เกาหลีเหนือ
2-2  
ไทย
41 2555  
เกาหลีใต้ U-23
พบกันหมด  
เดนมาร์ก ลีก XI
 
นอร์เวย์
พบกันหมด  
ไทย
พ.ศ. 2554 ไม่มีการจัด
40 2553  
เดนมาร์ก
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
ไทย
พบกันหมด  
สิงคโปร์
39 2552  
เดนมาร์ก
2 - 2
(ลูกโทษ 5-3)
 
ไทย
 
เลบานอน
1-0  
เกาหลีเหนือ
พ.ศ. 2551 ไม่มีการจัด
38 2550  
ไทย
1 - 0  
อิรัก
 
เกาหลีเหนือ
(ไม่มีการชิงที่สาม)  
อุซเบกิสถาน
37 2549  
ไทย
3 - 1  
เวียดนาม
 
สิงคโปร์
(ไม่มีการชิงที่สาม)  
คาซัคสถาน
36 2548  
ลัตเวีย
2 - 1  
เกาหลีเหนือ
 
ไทย
(ไม่มีการชิงที่สาม)  
โอมาน
35 2547  
สโลวาเกีย
1-1
(ลูกโทษ 5-4)
 
ไทย
 
ฮังการี
5-0  
เอสโตเนีย
34 2546  
สวีเดน
4-0  
เกาหลีเหนือ
 
ไทย
3-1  
กาตาร์
33 2545  
เกาหลีเหนือ
0-0
(ลูกโทษ 4-3)
 
ไทย
 
กาตาร์
2-0  
สิงคโปร์ สิงคโปร์
32 2544  
สวีเดน
3-0  
จีน
 
ไทย
2-0  
กาตาร์
31 2543  
ไทย
5-1  
ฟินแลนด์
 
บราซิล U-20
1-0  
เอสโตเนีย
30 2542  
บราซิล U-20
7-1  
เกาหลีเหนือ
 
ไทย
3-1  
ฮังการี ลีก XI
29 2541  
เกาหลีใต้
1-1
(ลูกโทษ 6-5)
 
อียิปต์
 
เดนมาร์ก B
3-0  
ไทย
28 2540  
สวีเดน ลีก XI
2-0  
ญี่ปุ่น
 
ไทย
3-1  
โรมาเนีย
27 2539  
โรมาเนีย
2-1  
เดนมาร์ก
 
ไทย
5-2  
ฟินแลนด์
26 2538  
รอตอร์วอลโกกราด
3-0  
ญี่ปุ่น XI
 
ไทย
(ไม่มีการชิงที่สาม)  
ไทย B
25 2537  
ไทย B
4-0  
เวสท์ฟาลีอา
 
รอตอร์วอลโกกราด
???
(ลูกโทษ 5-3)
 
ไทย
24 2536  
จีน
4-0  
ไทย
 
เกาหลีใต้
0-0
(ลูกโทษ 6-5)
 
ไทย โอลิมปิก
23 2535  
ไทย
2-0  
เบอร์ลิน
 
ไทย
1-0  
เทียนจิน
22 2534  
จีน
3-1  
รอตอร์วอลโกกราด
 
ไทย
0-0
(ลูกโทษ 5-4)
 
ไทย โอลิมปิก
21 2533  
ไทย
2-1
(ต่อเวลา)
 
รอตอร์วอลโกกราด
 
เจจู
1-1
(ลูกโทษ 5-4)
 
เซี่ยงไฮ้
20 2532  
ไทย
3-1  
รอตอร์วอลโกกราด
 
ลักกีโกลด์สตาร์
2-1  
จีน
19 2531  
เดนมาร์ก โอลิมปิก
1-0  
สวารอฟสกีตีรอล
 
ไทย
4-2  
สหภาพโซเวียต XI
18 2530  
เกาหลีเหนือ
1-0  
พอสโกอะตอมส์
 
ไทย
3-2  
อินโดนีเซีย
17 2529  
เกาหลีเหนือ
2-1  
อาร์ฮุส
 
ไทย
1-0  
ออกัสเฟิร์ส
พ.ศ. 2528 ไม่มีการจัด
16 2527  
ไทย
3-0  
อินโดนีเซีย
 
ออสเตรเลียตะวันตก
1-0  
ลิเวอร์พูลทีมสมัครเล่น
พ.ศ. 2526 ไม่มีการจัด
15 2525  
ไทย
0-0
(ลูกโทษ 4-3)
 
เกาหลีใต้
 
ไทย บี
2-2
(ลูกโทษ 3-2)
บ้างก็ว่า 0-0
(ลูกโทษ 5-4)
 
สิงคโปร์
14 2524  
ไทย
2-1
(ต่อเวลา)
 
เกาหลีเหนือ
 
โปโลเนีย วารส์ซาวา
2-0  
ออกัสเฟิร์ส
13 2523  
ไทย
0-0
(ชนะเลิศร่วมกัน)
 
เกาหลีใต้
 
ไทย บี
2-2
(อันดับ 3 ร่วมกัน)
 
จีน
12 2522  
ไทย
1-0  
เกาหลีใต้
 
ไทย บี
2-2
(อันดับ 3 ร่วมกัน)
 
สิงคโปร์
11 2521  
มาเลเซีย
3-2  
สิงคโปร์
 
เกาหลีใต้
2–1  
ไทย
10 2520  
มาเลเซีย
0-0
(ชนะเลิศร่วมกัน)
 
เกาหลีใต้
 
ไทย
(ไม่มีการชิงที่สาม)  
อินเดีย
9 2519  
ไทย
1-1
(ชนะเลิศร่วมกัน)
 
มาเลเซีย
 
เกาหลีใต้
3-1  
ไทย บี
8 2518  
เกาหลีใต้
1-0  
พม่า
 
ไทย
(ไม่มีการชิงที่สาม)  
มาเลเซีย
7 2517  
เกาหลีใต้
3-1
(ต่อเวลา)
 
ไทย
 
มาเลเซีย
3-0  
สาธารณรัฐเขมร
6 2516  
เกาหลีใต้
2-1  
มาเลเซีย
 
ไทย
1-0  
พม่า
5 2515  
มาเลเซีย
1-0  
ไทย
 
เกาหลีใต้
0-0
(อันดับ 3 ร่วมกัน)
 
สิงคโปร์
4 2514  
เกาหลีใต้
1-0  
ไทย
 
เวียดนามใต้
???  
อินโดนีเซีย
3 2513  
เกาหลีใต้
1-0  
ไทย
 
มาเลเซีย
3-1  
อินโดนีเซีย
2 2512  
เกาหลีใต้
1-0  
อินโดนีเซีย
 
เวียดนามใต้
7-0  
ลาว
1 2511  
อินโดนีเซีย
1-0  
พม่า
 
ไทย
6-0  
มาเลเซีย

คิงส์คัพ ครั้งที่ 44

แก้

คิงส์คัพครั้งที่ 44 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 3 และ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยจะทำการแข่งขันแบ่งออกเป็น 2โถ เพื่อหาแชมป์กลุ่ม มาชิงชนะเลิศทีมชนะเลิศอันดับที่ 1 คว้าแชมป์ โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม จะแข่งขันกันที่กรุงเทพมหานคร โดยจะใช้สนาม ราชมังคลากีฬาสถานเป็นสนามแข่งขัน

คิงส์คัพ ครั้งที่ 43

แก้

คิงส์คัพครั้งที่ 43 จัดวันที่ 1-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 โดยจะทำการแข่งขันแบบพบกันหมด ทีมคะแนนที่ดีที่สุดคว้าแชมป์ โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม จะแข่งขันกันที่จังหวัดนครราชสีมา

คิงส์คัพ ครั้งที่ 42

แก้

คิงส์คัพครั้งที่ 42 จัดวันที่ 23-26 มกราคม พ.ศ. 2556 โดยจะทำจับสลากประกบคู่ แข่งขันแบบแพ้คัดออก หาคู่ชิงชนะเลิศ และหาแชมป์ต่อไป โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม จะแข่งขันกันที่จังหวัดเชียงใหม่

แบบแพ้คัดออก

คู่ที่ 1
สวีเดน  1 - 1 (0 - 0)  เกาหลีเหนือ
อดัม โยฮันส์สัน   30'
เออร์ตัน เฟซูลลาฮู   56'
จิโลอัน ฮาหมัด   82'
รายงาน ฮอง คัม ซอง   48'
จอน กวาง อิก   62'
ลูกโทษ
อันเดอร์ส สเวนส์สัน (C)  
ดาเนียล มาสโตโรวิช  
โทเบียส ไฮเซ่น  
ปอนตัส แยนส์สัน  
4 – 1   จาง กุ๊ก โชล
  คัง กุ๊ก โชล
  คิม โชล บอม

คู่ที่ 2
ไทย  1 - 3 (0 - 2)  ฟินแลนด์
ศุภชัย คมศิลป์   23'
ดัสกร ทองเหลา (C)   47'
นฤบดินทร์ วีรวัฒโนดม   68'
รายงาน มิกโก ซูมูซาโล   5'
มิกาเอล ฟอร์สเซลล์   12'  87'
ริกู ริสกิ   22'


นัดชิงชนะเลิศ
สวีเดน  3 - 0 (1 - 0)  ฟินแลนด์
โทเบียส ไฮเซ่น   23'
จิโลอัน ฮามัด   26'
เออร์ตัน เฟซูลลาฮู   41'
มาร์ติน โลเรนท์ซสัน   50'
โรบิน ไควสัน   73'
อันเดอร์ส สเวนส์สัน (C)   20',  90'
รายงาน ทีมู ไทนีโอ   13'

คิงส์คัพ ครั้งที่ 41

แก้

คิงส์คัพครั้งที่ 41 จัดวันที่ 15-21 มกราคม พ.ศ. 2555 โดยจะทำการแข่งขันแบบพบกันหมดและทีมที่มีคะแนนมากที่สุดจะได้เป็นแชมป์[1] มีทีมเข้าร่วม 4 ทีม

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/-
  เกาหลีใต้ U-23 7 3 2 1 0 6 1 +5
  เดนมาร์ก ลีก XI 5 3 1 2 0 4 2 +2
  นอร์เวย์ 4 3 1 1 1 2 4 -2
  ไทย 0 3 0 0 3 2 7 –5

รอบพบกันหมด

เดนมาร์ก ลีก XI  1 - 1 (0 - 0)  นอร์เวย์
มาคิน็อกซ์ คริสตอฟเฟอร์เซ่น   70' รายงาน ทาริก เอลยัวนัวซี่   79'

ไทย  1 - 3 (0 - 1)  เกาหลีใต้ U-23
ธีรเทพ วิโนทัย   53' รายงาน คิม ดอง ซับ   44'
โซ จุง จิน   69'
คิม ฮุน ซัง   80'



เกาหลีใต้ U-23  3 - 0 (2 - 0)  นอร์เวย์
คิม โบ เคือง   16'
คิม ฮุน ซุง   20'
โซ จุง จิง   59'
รายงาน

ไทย  1 - 3 (0 - 2)  เดนมาร์ก ลีก XI
สุมัญญา ปุริสาย   52' รายงาน มาคิน็อกซ์ คริสตอฟเฟอร์เซ่น   10'
มาร์ติน สเตอร์มาน   43'
มาร์ติน โอเลนคอฟ   92'

คิงส์คัพ ครั้งที่ 40

แก้

คิงส์คัพครั้งที่ 40 จะถูกจัดขึ้นระหว่างวันที่ 17-23 มกราคม พ.ศ. 2553 โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/-
  เดนมาร์ก 9 3 3 0 0 11 2 +9
  โปแลนด์ 6 3 2 0 1 10 5 +5
  ทีมชาติไทย 3 3 1 0 2 2 6 −4
  สิงคโปร์ 0 3 0 0 3 2 12 −10


รอบพบกันหมด

  เดนมาร์ก3 - 1  โปแลนด์
โซเรน รีคส์   22'
มอร์เตน ราสมุสเซน   48'
เยสเปอร์ เบ็ค   60'
ทสลาโวเมียร์ เปซโก   26'





  ไทย0 - 3  เดนมาร์ก
เลอคิก ราจโก้   19'
จอห์น อับซาลอนเซ่น   36'
มาร์ติน เบิร์นเบิร์ก   87'

คิงส์คัพ ครั้งที่ 38

แก้

คิงส์คัพครั้งที่ 38 จะถูกจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22-28 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/-
  ทีมชาติไทย 9 3 3 0 0 6 3 +3
  ทีมชาติอิรักชุดบี 6 3 2 0 1 5 3 2
  ทีมชาติเกาหลีเหนือ 1 3 0 1 2 4 6 −2
  ทีมชาติอุซเบกิสถาน 1 3 0 1 3 3 6 −3


รอบพบกันหมด



  เกาหลีเหนือ2 - 2  อุซเบกิสถาน
อัน ชอน ฮอค   41'
คิม คุม อิล   88'
โซโลมิน พาเวล   53'
ยาฟารอฟ ติเมอร์   65'

  ไทย2 - 1  อิรัก
ณัฐพร พันธุ์ฤทธิ์   44'
อาเหม็ด อาบิด อาลี   83' (og)
มุสลิม มูบารัก   49'



รอบชิงชนะเลิศ

คิงส์คัพ ครั้งที่ 37

แก้

คิงส์คัพครั้งที่ 37 จะถูกจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โดยมีทีมเข้าร่วม 4 ทีม [2]

โดยในเดือนตุลาคมได้มีการวางแผน เชิญ 6 ประเทศร่วมแข่งขันร่วมกับทีมไทย 2 ทีม [3] ซึ่งรวมถึง   ทีมชาติพม่า   ทีมชาติลาว และ   ทีมชาติอินโดนีเซีย ที่ทางสมาคมฟุตบอลฯได้เปลี่ยนใจยกเลิกไป โดยทีมที่ร่วมแข่งขันนั้น ทีมชาติสิงคโปร์เป็นทีมที่มีอันดับโลกสูงสุด ตามอันดับของฟีฟ่า คืออันดับที่ 116 รองลงมาคือทีมไทย 125, คาซัคสถาน 135, และ เวียดนาม 160[4]

คิงส์คัพ ครั้งที่ 36

แก้

คิงส์คัพ ครั้งที่ 36 นี่จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 24-30 ธันวาคม 2548 โดยมีทีมเข้าร่วมจาก 4 ประเทศ และการแข่งขันจัดในภาคใต้ของประเทศไทย ในจังหวัดกระบี่ พังงา และ ภูเก็ต โดยมีการแข่งขันในสาย และอันดับหนึ่งและอันดับสอง จะมาแข่งขันชิงชนะเลิศ โดยการแข่งขันนี้ไม่มีการชิงอันดับสาม

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แต้ม +/-
  ลัตเวีย 3 1 2 0 4 3 5 1
  เกาหลีเหนือ 3 1 1 1 4 3 4 1
  ไทย 3 1 1 1 2 3 4 -1
  โอมาน 3 1 0 2 3 4 3 -1

ชิงชนะเลิศ

  • ลัตเวีย 2-1 เกาหลีเหนือ

คิงส์คัพ ครั้งที่ 35

แก้

คิงส์คัพ ครั้งที่ 35 มีทีมเข้าร่วมจาก 4 ประเทศ โดยทีมที่ชนะเลิศคือ ทีมชาติสโลวาเกีย โดยมีผลการแข่งขันดังนี้

รองชนะเลิศ
ชิงอันดับสาม
ชิงชนะเลิศ

คิงส์คัพ ครั้งที่ 31

แก้
ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แต้ม +/-
  ฟินแลนด์ 3 2 1 0 7 2 7 5
  ไทย 3 1 1 1 2 8 4 -6
  บราซิล U-20 3 1 0 2 7 4 3 3
  เอสโตเนีย 3 1 0 2 3 5 3 -2

รอบพบกันหมด

  • ไทย 0-0 ฟินแลนด์
  • ไทย 2-1 เอสโตเนีย
  • บราซิล 7-0 ไทย
  • เอสโตเนีย 1-0 บราซิล
  • ฟินแลนด์ 4-2 เอสโตเนีย
  • ฟินแลนด์ 2 - 0 บราซิล

รอบสุดท้าย

  • อันดับ 3 - บราซิล 1-0 เอสโตเนีย
  • ชิงชนะเลิศ - ไทย 5-1 ฟินแลนด์

คิงส์คัพ ครั้งที่ 25

แก้

มีทีมแข่งขันทั้งหมด 8 ทีม คือ   ทีมชาติไทย 2 ทีม,  ทีมชาติมาเลเซีย,   ทีมชาติจีน,   รอตอร์วอลโกกราด,   เวสท์ฟาลีอา,   ทีมรวมเจลีก และ ทีมธนาคารคีออฟคูเนง

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. ข่าวคิงส์คัพครั้งที่ 41 จากสยามกีฬา
  2. คิงส์คัพลดจำนวนประเทศร่วมแข่งขัน จากแปดทีมเหลือสี่ทีม ข่าวจากคมชัดลึก
  3. ข่าวคิงส์คัพ 2549 จาก คมชัดลึก
  4. "อันดับทีมชาติจากฟีฟ่า ข้อมูล พ.ย. 2549". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-12-05. สืบค้นเมื่อ 2006-11-30.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

ผลคิงส์คัพตั้งแต่ 2511-2555