ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46

การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพครั้งที่ 46 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม จะแข่งขันกันที่กรุงเทพมหานคร

คิงส์คัพ 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย ประเทศไทย
เมืองกรุงเทพมหานคร
วันที่22 – 25 มีนาคม พ.ศ. 2561
ทีมธงชาติไทย ไทย
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ธงชาติสโลวาเกีย สโลวาเกีย
ธงชาติกาบอง กาบอง (จาก 3 สมาพันธ์)
สถานที่ราชมังคลากีฬาสถาน (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติสโลวาเกีย สโลวาเกีย (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติไทย ไทย
อันดับที่ 3ธงชาติกาบอง กาบอง
อันดับที่ 4Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน4
จำนวนประตู(2.25 ประตูต่อนัด)
2017
2019

ครั้งนี้ประกอบไปด้วยเจ้าภาพ ไทย และสามทีมรับเชิญ. สามทีมที่ได้รับเชิญนั้นคือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, สโลวาเกีย และ กาบอง.[1]

ทีมที่เข้าร่วม แก้

ประเทศ สมาคม สมาพันธ์ อันดับโลกฟีฟ่า1 ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
  ไทย (เจ้าภาพ) เอฟเอ ไทยแลนด์ เอเอฟซี 129 ชนะเลิศ (สิบห้าสมัย; สมัยล่าสุด: 2017)
  กาบอง กาบอง เอฟเอฟ ซีเอเอฟ 95 ครั้งแรก
  สโลวาเกีย สโลวัก เอฟเอ ยูฟ่า 28 ชนะเลิศ (2004)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เอฟเอ เอเอฟซี 78 อันดับที่ 4 (2016)
  • 1 การจัดอันดับโลกฟีฟ่า ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561.[2]

ภูมิหลัง แก้

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก แก้

  กาบอง   สโลวาเกีย   ไทย   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คู่แข่งขัน เหย้า เยือน คู่แข่งขัน เหย้า เยือน คู่แข่งขัน เหย้า เยือน คู่แข่งขัน เหย้า เยือน
  โกตดิวัวร์ แพ้ 0–3 ชนะ 2–1   อังกฤษ แพ้ 0–1 แพ้ 1–2   ออสเตรเลีย เสมอ 2–2 แพ้ 1–2   ออสเตรเลีย แพ้ 0–1 แพ้ 0–2
  มาลี ชนะ 3–1 เสมอ 0–0   ลิทัวเนีย ชนะ 4–0 ชนะ 2–1   อิรัก แพ้ 1–2 แพ้ 0–4   อิรัก ชนะ 2–0 แพ้ 0–1
  โมร็อกโก เสมอ 0–0 แพ้ 0–3   มอลตา ชนะ 3–0 ชนะ 3–1   ญี่ปุ่น แพ้ 0–2 แพ้ 0–4   ญี่ปุ่น แพ้ 0–2 ชนะ 2–1
  สกอตแลนด์ ชนะ 3–0 แพ้ 0–1   ซาอุดีอาระเบีย แพ้ 0–3 แพ้ 0–1   ซาอุดีอาระเบีย ชนะ 2–1 แพ้ 0–3
  สโลวีเนีย ชนะ 1–0 แพ้ 0–1   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เสมอ 1–1 แพ้ 1–3   ไทย ชนะ 3–1 เสมอ 1–1

ผลงานคิงส์คัพครั้งที่ผ่านมา แก้

  สโลวาเกีย   ไทย   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 35 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 44
รอบ คู่แข่งขัน ผล รอบ คู่แข่งขัน ผล รอบ คู่แข่งขัน ผล
รอบรองชนะเลิศ   ฮังการี ชนะ 1–0 รอบรองชนะเลิศ   เกาหลีเหนือ ชนะ 3–0 รอบรองชนะเลิศ   จอร์แดน แพ้ 1–3
รอบชิงชนะเลิศ   ไทย ชนะ 1–1 (5–4) รอบชิงชนะเลิศ   เบลารุส ชนะ 1–1 (4–5) รอบชิงอันดับ 3   ซีเรีย แพ้ 0–1
ชนะเลิศ (1) ชนะเลิศ (15) อันดับ 4

สนามแข่งขัน แก้

แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นที่ ราชมังคลากีฬาสถาน ใน กรุงเทพมหานคร, ไทย[3]

กรุงเทพมหานคร
ราชมังคลากีฬาสถาน
ความจุ: 49,772
 

ผู้เล่น แก้

แมตช์ แก้

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, เวลาอินโดจีน (UTC+7)[4]

กฎกติกาการแข่งขัน แก้

  • 90 นาที.
  • การดวลลูกโทษ ถ้าในกรณีที่จำเป็นโดยไม่มีการต่อเวลาพิเศษ.
  • เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุด 3 คน.

สายการแข่งขัน แก้

  รอบรองชนะเลิศ นัดชิงชนะเลิศ
22 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร
   สโลวาเกีย  2  
   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  1  
 
25 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร
       สโลวาเกีย  3
     ไทย  2
นัดชิงอันดับที่ 3
22 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร 25 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร
   ไทย (ลูกโทษ)  0 (4)    สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  0
   กาบอง  0 (2)      กาบอง  1

รอบรองชนะเลิศ แก้


นัดชิงอันดับที่ 3 แก้

นัดชิงชนะเลิศ แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
ไทย
 
 
 
 
 
 
 
สโลวาเกีย
GK 1 กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ (c)
DF 13 ฟิลิป โรลเลอร์
DF 4 เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว
DF 6 พรรษา เหมวิบูลย์
DF 2 พีระพัฒน์ โน๊ตชัยยา   75'
MF 7 จักรพันธ์ แก้วพรม   63'
MF 8 ฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์   81'
MF 11 มงคล ทศไกร   46'
MF 18 ชนาธิป สรงกระสินธ์
MF 3 ธีราทร บุญมาทัน
FW 10 ธีรศิลป์ แดงดา
ผู้เล่นสำรอง:
DF 5 มิก้า ชูนวลศรี
FW 9 สุพจน์ จดจำ
MF 14 นูรูล ศรียานเก็ม   63'
MF 15 บดินทร์ ผาลา   46'
DF 16 ชินภัทร ลีเอาะ
MF 17 สุภโชค สารชาติ
MF 19 เควิน ดีรมรัมย์
FW 22 สิโรจน์ ฉัตรทอง   46'
ผู้จัดการทีม:
  มิลอวัน ราเยวัตส์
GK 23 Michal Šulla
DF 19 Ľubomír Šatka
DF 4 Boris Sekulić
DF 3 มาร์ติน ชเกอร์เตล (c)   72'
DF 16 Róbert Mazáň
MF 24 Erik Pačinda   74'
MF 18 อีริก ซาบอ   60'
MF 20 รอเบร์ต มัก   78'   82'
MF 8 อ็อนเดรย์ ดูดา
MF 6 ยาน เกรกุส
FW 11 อาดัม เญเม็ตส์
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 มาร์ติน ดูเบรากา
GK 12 Martin Polaček
DF 2 เปเตร์ เปการีก
DF 5 Norbert Gyömbér
MF 7 Filip Kiss
MF 9 Jaroslav Mihalík
MF 10 อัลเบร์ต รุสนัก   82'
DF 14 Milan Škriniar   72'
MF 22 Stanislav Lobotka   60'
ผู้จัดการทีม:
  ยาน กอซาก

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Azman Ismail (มาเลเซีย)
Mohd Hariff MD Akhir (มาเลเซีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
วิวรรธน์ จำปาอ่อน (ไทย)

กติกา

ชนะเลิศ แก้

 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46
ชนะเลิศ 
 
สโลวาเกีย
ครั้งที่สอง

รางวัล แก้

อันดับดาวซัลโว แก้

หมายเหตุ : ไม่รวมประตูลูกจุดโทษในช่วงเสมอ

1 ประตู

การถ่ายทอดสด แก้

ประเทศ สถานีโทรทัศน์ อ้างอิง
  สโลวาเกีย TV JOJ [5]
  ไทย ไทยรัฐทีวี [6]

อ้างอิง แก้

  1. "กาบอง ยืนยันเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน คิงส์ คัพ ทีมล่าสุด". FA Thailand. 05 มกราคม 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-08. สืบค้นเมื่อ 05 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. FIFA.com. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking - Ranking Table - FIFA.com". FIFA.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
  3. "นายกสมาคมฯยัน คิงส์คัพ แข่ง 23 มี.ค. นี้ ใช้ราชมังฯ เป็นสังเวียนดวลแข้ง". FA Thailand. 04 มกราคม 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-07. สืบค้นเมื่อ 05 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  4. "จับติ้วคิงส์คัพหน46 "ช้างศึก" ชน ทีมชาติกาบองหวดรอบแรก 22 มี.ค.นี้". Siamsport. 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  5. "Zápasy Slovenska na pohári King's Cup v Thajsku aj v priamom prenose | ProFutbal.sk" (ภาษาสโลวัก). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-21. สืบค้นเมื่อ 2018-03-20.
  6. "ส.บอล ยัน! ฟุตบอลคิงส์คัพแข่ง 23 มี.ค. นี้ ไทยรัฐทีวียิงสด". ไทยรัฐออนไลน์. 04 มกราคม 2561. สืบค้นเมื่อ 05 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้