ฟุตบอลทีมชาติฮังการี
ฟุตบอลทีมชาติฮังการี (ฮังการี: Magyar labdarúgó-válogatott) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนทีมชาติจากประเทศฮังการี ประเทศในแถบยุโรปกลาง ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลฮังการี
![]() | |||
ฉายา | The Magical Magyars (แมกยาร์มหัศจรรย์; ในทศวรรษที่ 1950) Nemzeti Tizenegy (ชาติที่สิบเอ็ด) นักรบแมกยาร์ (ฉายาในประเทศไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | Magyar Labdarúgó Szövetség (MLSZ) | ||
สมาพันธ์ | UEFA (ยุโรป) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | บาร์นด์ สตอร์ก | ||
กัปตัน | บาลาซส์ ดูเชก | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | กาเบอร์ คิราลี (104) | ||
ทำประตูสูงสุด | แฟแร็นตส์ ปุชกาช (84) | ||
สนามเหย้า | กรูปามาอารีนา | ||
รหัสฟีฟ่า | HUN | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 36 ![]() | ||
อันดับสูงสุด | 18 (เมษายน–พฤษภาคม 2016) | ||
อันดับต่ำสุด | 87 (กรกฎาคม 1996) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (เวียนนา, ออสเตรีย 12 ตุลาคม 1902) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (บูดาเปสต์, ฮังการี; 12 มิถุนายน 1927) ![]() ![]() (บูดาเปสต์, ฮังการี; 24 กันยายน 1950) | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (บูดาเปสต์, ฮังการี; 10 มิถุนายน 1908) ![]() ![]() (โซลนา, สวีเดน; 30 มิถุนายน 1912)[2] ![]() ![]() (โคโลญจ์, เยอรมนี; 6 เมษายน 1941) ![]() ![]() (อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์; 11 ตุลาคม 2013) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 9 (ครั้งแรกใน 1934) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองแชมป์; 1938 และ 1954 | ||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 1964) | ||
ผลงานดีที่สุด | ที่สาม, 1964 |
สถิติเหรียญโอลิมปิก | ||
---|---|---|
ฟุตบอลชาย | ||
โอลิมปิกฤดูร้อน | ||
![]() |
เฮลซิงกิ 1952 | ทีม |
![]() |
โตเกียว 1964 | ทีม |
![]() |
เม็กซิโกซิตี 1968 | ทีม |
![]() |
มิวนิก 1972 | ทีม |
![]() |
โรม 1960 | ทีม |
ประวัติ แก้ไข
สมาพันธ์ฟุตบอลฮังการีก่อตั้งในปี ค.ศ. 1901 ในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งฮังการีเคยเป็นชาติที่มีประวัติยิ่งใหญ่ในวงการฟุตบอลระดับโลก โดยเป็นถึงรองแชมป์โลก 2 ครั้ง ในฟุตบอลโลก 1938 และฟุตบอลโลก 1954 และได้ที่ 3 ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1964 รวมถึงได้เหรียญทอง, เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง ในฟุตบอลชายของโอลิมปิกหลายต่อหลายครั้ง โดยมีแฟแร็นตส์ ปุชกาช เป็นผู้เล่นที่โดดเด่นมีชื่อเสียงมากในระดับโลก จนอาจถือได้เป็นระดับตำนานคนหนึ่งเทียบเท่ากับเปเล่[3][4][5][6] [7]
ปัจจุบัน ฮังการีได้ห่างหายจากการแข่งขันระดับโลกไปนาน รวมถึงนักฟุตบอลของฮังการีเองก็ไม่ปรากฏชื่อเสียงเหมือนเดิม ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ฮังการีได้ผ่านเข้ามาในรอบสุดท้ายได้สำเร็จ นับว่าเป็นครั้งแรกในรอบ 44 ปี สำหรับการแข่งขันในระดับโลก นับตั้งแต่ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1972[8] โดยเข้ารอบสุดท้ายได้ด้วยการคัดเลือกเอาชนะนอร์เวย์ไป 2–1 (รวมผล 2 นัด ชนะ 3–1) โดยฮังการีอยู่ในกลุ่มเอฟร่วมกับโปรตุเกส, ออสเตรีย และไอซ์แลนด์ และผลการแข่งขันนัดแรก ฮังการีก็สามารถเอาชนะออสเตรียไปได้ 0–2[9]
การแข่งขัน แก้ไข
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เป็นการแข่งขันระหว่างออสเตรียและฮังการี
รายชื่อผู้เล่น แก้ไข
รายชื่อผู้เล่น 23 คน ที่จะเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ที่ประเทศฝรั่งเศส
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | GK | กาโบร์ กิราย | 1 เมษายน ค.ศ. 1976 (อายุ 40 ปี) | 103 | 0 | ฮอลอดาช |
2 | DF | อาดาม ล็องก์ | 17 มกราคม ค.ศ. 1993 (อายุ 23 ปี) | 11 | 0 | วิแดโอโตน |
3 | DF | มิฮาย โกร์ฮุต | 1 ธันวาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) | 4 | 0 | แดแบร็ตแซ็น |
4 | DF | ตอมาช กาดาร์ | 14 มีนาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 26 ปี) | 30 | 0 | แลคปอซนัญ |
5 | DF | อ็อตติลอ ฟิโอลอ | 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (อายุ 26 ปี) | 15 | 0 | ปุชกาชออกอเดมิออ |
6 | MF | อาโกช แอแล็ก | 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) | 38 | 1 | ดิโอชเจอรี เวเตกา |
7 | FW | บอลาฌ จูจาก (กัปตัน) | 23 ธันวาคม ค.ศ. 1986 (อายุ 29 ปี) | 78 | 18 | บูร์ซัสปอร์ |
8 | MF | อาดาม น็อจ | 17 มิถุนายน ค.ศ. 1995 (อายุ 20 ปี) | 8 | 0 | แฟแร็นตส์วาโรช |
9 | FW | อาดาม ซอล็อย | 9 ธันวาคม ค.ศ. 1987 (อายุ 28 ปี) | 32 | 8 | ฮันโนเฟอร์ 96 |
10 | FW | โซลตาน แกรา | 22 เมษายน ค.ศ. 1979 (อายุ 37 ปี) | 89 | 24 | แฟแร็นตส์วาโรช |
11 | FW | กริสติอาน เนแม็ต | 5 มกราคม ค.ศ. 1989 (อายุ 27 ปี) | 24 | 3 | อัลเฆาะรอฟะฮ์ |
12 | GK | เดแน็ช ดิบุส | 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 (อายุ 25 ปี) | 4 | 0 | แฟแร็นตส์วาโรช |
13 | FW | ดานิแอ็ล เบอแด | 24 ตุลาคม ค.ศ. 1986 (อายุ 29 ปี) | 12 | 4 | แฟแร็นตส์วาโรช |
14 | MF | แกร์เกอ โลฟแร็นชิช | 1 กันยายน ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) | 12 | 1 | แลคปอซนัญ |
15 | MF | ลาสโล ไกลน์ไฮส์แลร์ | 8 เมษายน ค.ศ. 1994 (อายุ 22 ปี) | 5 | 1 | แวร์เดอร์เบรเมิน |
16 | DF | อาดาม ปินเตร์ | 12 มิถุนายน ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) | 21 | 0 | แฟแร็นตส์วาโรช |
17 | FW | เนมันยา นีคอลิช | 31 ธันวาคม ค.ศ. 1987 (อายุ 28 ปี) | 18 | 3 | แลเกียวาร์ชาวา |
18 | MF | โซลตาน ชตีแบร์ | 16 ตุลาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) | 12 | 2 | เนือร์นแบร์ก |
19 | FW | ตอมาช ปริชกิน | 27 กันยายน ค.ศ. 1986 (อายุ 29 ปี) | 56 | 17 | สลอวันบราจิสลาวา |
20 | DF | ริฮาร์ด กุซมิช | 16 เมษายน ค.ศ. 1987 (อายุ 29 ปี) | 14 | 1 | วิสวากรากุฟ |
21 | DF | บอร์นอบาช แบแช | 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 22 ปี) | 1 | 0 | แอ็มเตกา บูดอแป็ชต์ |
22 | GK | เปแตร์ กูลาชี | 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 26 ปี) | 3 | 0 | แอร์เบ ไลพ์ซิจ |
23 | DF | โรล็อนด์ ยูฮาส | 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 (อายุ 32 ปี) | 91 | 6 | วิแดโอโตน |
ชุดแข่งขันในแต่ละยุค แก้ไข
1950s
|
1972
|
1982
|
1986
|
2000
|
2002
|
2004
|
2006
|
2008
|
2010
|
2012
|
2014
|
2016
|
ชุดแข่งขันปัจจุบัน แก้ไข
เหย้า
|
เยือน
|
ผู้รักษาประตู 1
|
ผู้รักษาประตู 2
|
อดีตผู้เล่นคนสำคัญ แก้ไข
อ้างอิงและเชิงอรรถ แก้ไข
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 22 ธันวาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2022.
- ↑ การแข่งขันนัดนี้มิได้ถูกบันทึกไว้ในสมาคมฟุตบอลอังกฤษ และไม่จัดว่าเป็นทีมชาติอังกฤษ
- ↑ "ยูโร 2016 ใครชนะ ใครแชมป์ 14 06 59 เบรก 2". ฟ้าวันใหม่. 14 June 2016. สืบค้นเมื่อ 15 June 2016.
- ↑ "FIFA President: FIFA to help the Galloping Major". FIFA. 12 October 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2006. สืบค้นเมื่อ 2006-11-17.
- ↑ "Coronel Puskas, el zurdo de oro" (ภาษาสเปน). AS. 17 November 2006. สืบค้นเมื่อ 2006-11-17.
- ↑ Mackay, Duncan (13 October 2005). "Lineker tees up another nice little earner". London: Guardian Unlimited. สืบค้นเมื่อ 2006-11-17.
- ↑ "Blatter unveils FIFA Puskas Award". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-12-13. สืบค้นเมื่อ 2016-06-15.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "ฮังการี เข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลยูโร ครั้งแรกในรอบ 44 ปี". สำนักข่าวไทย. 25 November 2015. สืบค้นเมื่อ 15 June 2016.
- ↑ ""ฮังการี" เร่งเครื่องดับ "ออสเตรีย" 10 คน 2-0 ประเดิมชัยยูโรนัดแรก". พีพีทีวี. 15 June 2016. สืบค้นเมื่อ 15 June 2016.[ลิงก์เสีย]