ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47
การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม คือ ไทย (เจ้าภาพ), เวียดนาม, อินเดีย และกือราเซา[1] และเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ครั้งที่ 43 ที่จัดขึ้นนอกกรุงเทพมหานคร โดยครั้งนี้จะแข่งขันกันที่จังหวัดบุรีรัมย์[2]
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ประเทศไทย |
เมือง | จังหวัดบุรีรัมย์ |
วันที่ | 5 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562 |
ทีม | ไทย เวียดนาม อินเดีย กูราเซา (จาก 2 สมาพันธ์) |
สถานที่ | ช้างอารีนา (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | กูราเซา (สมัยที่ 1) |
รองชนะเลิศ | เวียดนาม |
อันดับที่ 3 | อินเดีย |
อันดับที่ 4 | ไทย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 4 |
จำนวนประตู | 8 (2 ประตูต่อนัด) |
ทีมที่เข้าร่วม
แก้ประเทศ | สมาคม | สมาพันธ์ | อันดับโลกฟีฟ่า1 | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|---|
ไทย (เจ้าภาพ) | เอฟเอ ไทยแลนด์ | เอเอฟซี | 114 | ชนะเลิศ (สิบห้าสมัย; สมัยล่าสุด: 2017) |
กูราเซา2 | เอฟเอฟเค | คอนคาแคฟ | 82 | ครั้งแรก |
อินเดีย | อินเดีย เอฟเอ | เอเอฟซี | 101 | อันดับ 3 (1977) |
เวียดนาม | วีเอฟเอฟ | เอเอฟซี | 98 | รองชนะเลิศ (2006) |
- 1 อันดับโลกฟีฟ่า ณ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2562.[3]
- 2 กือราเซา แทนที่ เอลซัลวาดอร์ ที่ขอถอนทีมออกจากการแข่งขัน. เอลซัลวาดอร์ทีมตัวเองแทนที่ จีน ซึ่งตอนแรกก็วางแผนที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน.[4]
สถานที่แข่งขัน
แก้สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยืนยันว่า การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพครั้งที่ 47 นี้จะไม่แข่งขันที่สนามราชมังคลากีฬาสถานอย่างเช่น 3 ครั้งก่อนหน้า เพราะอยู่ในช่วงการปรับปรุงสำหรับรองรับการเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในปี พ.ศ. 2563 และจะใช้สนามในต่างจังหวัดที่ผ่านมาตรฐาน A-Class ของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย และเดินทางได้สะดวกในการจัดการแข่งขันครั้งนี้แทน[5] โดยเบื้องต้นมี 3 สนามที่ถูกเสนอให้พิจารณาเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้ คือ มิตรผลสเตเดียม ในจังหวัดราชบุรี, ช้างอารีนา ในจังหวัดบุรีรัมย์ และสนามกีฬากลางในจังหวัดสุพรรณบุรี[6] สุดท้าย ในวันที่ 5 เมษายน สมาคมฯ จึงเลือกช้างอารีนาเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้[2]
จังหวัดบุรีรัมย์ | |
---|---|
ช้างอารีนา (ธันเดอร์คาสเซิลสเตเดียม) | |
14°58′0″N 103°5′46″E / 14.96667°N 103.09611°E | |
ความจุ: 32,600 ที่นั่ง | |
ผู้เล่น
แก้นัด
แก้เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, เวลาอินโดจีน (UTC+7)
กฎกติกาการแข่งขัน
แก้- 90 นาที.
- การดวลลูกโทษ ถ้าในกรณีที่จำเป็นโดยไม่มีการต่อเวลาพิเศษ.
- เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุด 3 คน.
สายการแข่งขัน
แก้รอบรองชนะเลิศ | นัดชิงชนะเลิศ | ||||||
5 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | |||||||
กูราเซา | 3 | ||||||
อินเดีย | 1 | ||||||
8 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | |||||||
กูราเซา | 1 (5) | ||||||
เวียดนาม | 1 (4) | ||||||
นัดชิงอันดับที่ 3 | |||||||
5 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | 8 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | ||||||
ไทย | 0 | อินเดีย | 1 | ||||
เวียดนาม | 1 | ไทย | 0 |
รอบรองชนะเลิศ
แก้กูราเซา | 3–1 | อินเดีย |
---|---|---|
โบเนวาเซีย 15' ฮอย 18' บาคูนา 34' |
รายงาน | เชตรี 31' (ลูกโทษ) |
ไทย | 0–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน | เหงียน อัญ ดึ๊ก 90+4' |
นัดชิงอันดับที่ 3
แก้อินเดีย | 1–0 | ไทย |
---|---|---|
อะนิรุดห์ ธาปา 17' | รายงาน |
นัดชิงชนะเลิศ
แก้กูราเซา | 1–1 | เวียดนาม |
---|---|---|
Carolina 58' | รายงาน | Phạm Đức Huy 83' |
ลูกโทษ | ||
Benschop Hooi Antonia Bacuna Maria |
5–4 | Nguyễn Anh Đức Nguyễn Công Phượng Nguyễn Trọng Hoàng Quế Ngọc Hải Đoàn Văn Hậu |
อันดับการแข่งขัน
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | สรุปผลงาน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กูราเซา | 2 | 1 | 1 | 0 | 4 | 2 | +2 | 4 | แชมเปียนส์ |
2 | เวียดนาม | 2 | 1 | 1 | 0 | 2 | 1 | +1 | 4 | รองชนะเลิศ |
3 | อินเดีย | 2 | 1 | 0 | 1 | 2 | 3 | −1 | 3 | อันดับ 3 |
4 | ไทย (H) | 2 | 0 | 0 | 2 | 0 | 2 | −2 | 0 | อันดับ 4 |
(H) เจ้าภาพ
การถ่ายทอดสด
แก้ประเทศ | สถานีโทรทัศน์ | สตรีมมิงอย่างเป็นทางการ | อ้างอิง |
---|---|---|---|
อินเดีย | Star Sports 3 | Hotstar | [7][8] |
ไทย | ไทยรัฐทีวี | [8][9] | |
เวียดนาม | VTC Digital Television | [8][10] |
อ้างอิง
แก้- ↑ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (9 เมษายน 2562). "สมาคมฯ ยืนยัน กือราเซา ตอบรับเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอล คิงส์ คัพ ครั้งที่ 47". fathailand.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-14. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 2.0 2.1 สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (5 เมษายน 2562). "คณะกรรมการเลือกสนาม "ช้าง อารีนา" จัดฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47". fathailand.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-06. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ FIFA.com. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking - Ranking Table - FIFA.com". FIFA.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
- ↑ Lam, Thoa (9 May 2019). "Vietnam to play Thailand in first King's Cup game". VN Express. สืบค้นเมื่อ 9 May 2019.
- ↑ สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (22 มีนาคม 2562). "นายกสมาคมฯ ขอบคุณทัพ "ช้างศึก" สร้างผลงานให้แฟนบอลชาวไทยมีรอยยิ้ม". fathailand.org. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ สยามกีฬารายวัน (1 เมษายน 2562). "ศึกฟุตบอลคิงส์ คัพ รู้สังเวียน 5 เม.ย.นี้". siamsport.co.th. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2562.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "King's Cup 2019: India vs Curacao live stream, updates, when and where to watch". Fox Sports Asia. 5 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-04. สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 "King's Cup 2019: Thailand vs Vietnam live stream, updates, when and where to watch". Fox Sports Asia. 5 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-04. สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
- ↑ "King's Cup 2019: Thailand vs India live stream, updates, when and where to watch". Fox Sports Asia. 8 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-09. สืบค้นเมื่อ 9 June 2019.
- ↑ "King's Cup 2019: Vietnam vs Curacao live stream, updates, when and where to watch". Fox Sports Asia. 8 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-09. สืบค้นเมื่อ 9 June 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย เก็บถาวร 2019-06-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ