ฟุตบอลทีมชาติโอมาน
ฟุตบอลทีมชาติโอมาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศโอมาน อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลโอมาน ทีมชาติโอมานยังไม่มีผลงานในระดับโลก สำหรับในระดับภูมิภาคเอเชีย ทีมชาติโอมานได้ร่วมเล่นใน เอเชียนคัพ 3 ครั้ง คือใน เอเชียนคัพ 2004 , 2007 , 2019
ฉายา | Al-Ahmar (The Red) Al-Khanajar Al-Omania (The Omani Daggers) Al-Halwa Al-Omania (The Sweet of Oman) Al-Samba Al-Khaleejia (Sambas of the Gulf) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลโอมาน (OFA) | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (ทวีปเอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ปอล เลอ กูเอ็น ![]() | ||
กัปตัน | อาห์เหม็ด มูบารัค | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | อาห์เหม็ด มูบารัค (175) | ||
ทำประตูสูงสุด | ฮะนี อัษษะบิต (43) | ||
สนามเหย้า | ศูนย์กีฬาสุลต่านกอบูส | ||
รหัสฟีฟ่า | OMN | ||
อันดับฟีฟ่า | 96 (พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) | ||
อันดับฟีฟ่าสูงสุด | 50 (สิงหาคม พ.ศ. 2547) | ||
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด | 117 (กรกฎาคม พ.ศ. 2546) | ||
อันดับอีแอลโอ | 68 (พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) | ||
อันดับอีแอลโอสูงสุด | 50 (ธันวาคม พ.ศ. 2547) | ||
อันดับอีแอลโอต่ำสุด | 174 (มีนาคม พ.ศ. 2527) | ||
| |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (กรุงไคโร,อียิปต์; 2 กันยายน, พ.ศ. 2508) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (มัสกัต, โอมาน; 30 เมษายน, พ.ศ. 2544) | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (กรุงแบกแดด,อิรัก; 1 เมษายน พ.ศ. 2509) | |||
เอเอฟซี เอเชียนคัพ | |||
เข้าร่วม | 2 (ครั้งแรกใน พ.ศ. 2547) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบที่ 1 |
ผลงานแก้ไข
ฟุตบอลโลกแก้ไข
เอเชียนคัพแก้ไข
อดีตผู้เล่นคนสำคัญแก้ไข
อ้างอิงแก้ไข
- รายละเอียดทีมโอมานจากเว็บฟีฟ่า (อังกฤษ)