ฟุตบอลโลก 2022

การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 22

ฟุตบอลโลก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIFA World Cup; อาหรับ: 2022 كأس العالم لكرة القدم, Kaʾs al-ʿālam li-kurat al-qadam 2022) เป็นกำหนดการแข่งขันฟุตบอลโลก ครั้งที่ 22 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติของทุกชาติสมาชิกฟีฟ่าที่จะจัดขึ้นทุกสี่ปี โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศกาตาร์ ตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน ถึง 18 ธันวาคม 2022 นี่จะเป็นฟุตบอลโลกครั้งแรกที่จัดในโลกอาหรับและโลกมุสลิม[4] และเป็นครั้งที่สองที่จัดในทวีปเอเชียต่อจากฟุตบอลโลก 2002 ที่เกาหลีใต้และญี่ปุ่น[a] นอกจากนี้ ยังเป็นครั้งสุดท้ายที่มีทีมร่วมแข่งขัน 32 ทีม เนื่องจากจะมีการเพิ่มขึ้นเป็น 48 ทีมในฟุตบอลโลก 2026 ทีมชาติฝรั่งเศสเป็นแชมป์เก่าจากการแข่งขันครั้งที่ผ่านมา[5] เนื่องด้วยสภาพอากาศที่ร้อนจัดในฤดูร้อนของประเทศกาตาร์ ฟุตบอลโลกครั้งนี้จะจัดขึ้นตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนธันวาคม ทำให้เป็นครั้งแรกที่จะไม่จัดในช่วงกลางปี โดยกรอบเวลาของการแข่งขันจะลดลงเหลือ 29 วัน[6]

ฟุตบอลโลก 2022
كأس العالم لكرة القدم 2022
Kaʾs al-ʿālam li-kurrat al-qadam 2022
Qatar 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพกาตาร์
วันที่20 พฤศจิกายน – 18 ธันวาคม 2022 [1][2] [3]
ทีม32 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 5 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
อันดับที่ 3ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
อันดับที่ 4ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู172 (2.69 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม3,404,252 (53,191 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป
(8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมอาร์เจนตินา เอนโซ เฟร์นันเดซ
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
2018
2026

มีการกล่าวหาว่ามีการทุจริตเกี่ยวกับการที่ประเทศกาตาร์ได้รับสิทธิ์เป็นเจ้าภาพ การสอบสวนภายในและรายงานของฟีฟ่าทำให้ประเทศกาตาร์พ้นต่อความผิดใด ๆ แต่มิเชล เจ. การ์ซิอา หัวหน้าเจ้าพนักงานสืบสวน ก็ได้อธิบายรายงานของฟีฟ่าเกี่ยวกับการไต่สวนของเขาว่ามี "การเป็นตัวแทนที่ไม่สมบูรณ์และผิดพลาดจำนวนมาก"[7] เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2015 อัยการสมาพันธรัฐสวิสได้เปิดการสอบสวนเรื่องการทุจริตและการฟอกเงินที่เกี่ยวข้องกับการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2018 และ 2022[8][9] เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2018 เซ็พ บลัทเทอร์ อดีตประธานฟีฟ่า อ้างว่าประเทศกาตาร์ใช้ "ปฏิบัติการดำ" โดยชี้ว่าคณะกรรมการประมูลโกงเพื่อชิงสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพ[10] นอกจากนี้ ประเทศกาตาร์เผชิญคำวิจารณ์หนักจากการปฏิบัติต่อแรงงานต่างด้าวที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมตัวจัดการแข่งชัน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ระบุว่ามีการบังคับแรงงาน และมีแรงงานข้ามชาติหลายร้อยหรือหลายพันคนเสียชีวิตอันเป็นผลมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน และสภาพการทำงานที่ประมาทและไร้มนุษยธรรม แม้ว่าจะมีการร่างมาตรฐานสวัสดิการแรงงานในปี 2014

การคัดเลือกเจ้าภาพ

แก้
การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2022
(เสียงข้างมาก คือ 12 เสียง)
ประเทศ คะแนนเสียง
รอบ 1 รอบ 2 รอบ 3 รอบ 4
  กาตาร์ 11 10 11 14
  สหรัฐอเมริกา 3 5 6 8
  เกาหลีใต้ 4 5 5 ตกรอบ
  ญี่ปุ่น 3 2 ตกรอบ
  ออสเตรเลีย 1 ตกรอบ

ทีม

แก้

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก

แก้

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเป็นตำแหน่งสุดท้ายในอันดับโลกฟีฟ่าก่อนการแข่งขัน[11]

การจับสลาก

แก้

การจับสลากรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมโดฮา ในกรุงโดฮา ประเทศกาตาร์[12] เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2022[13] เวลา 19:00 น. (เวลามาตรฐานอาระเบีย) ก่อนที่จะการแข่งขันรอบคัดเลือกจะเสร็จสิ้น ผู้ชนะสองทีมจากเพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์และผู้ชนะจากสายเอของเพลย์ออฟโซนยุโรปจึงยังไม่เป็นที่ทราบกันขณะจับสลาก[14]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

  กาตาร์ (51) (เจ้าภาพ)
  บราซิล (1)
  เบลเยียม (2)
  ฝรั่งเศส (3)
  อาร์เจนตินา (4)
  อังกฤษ (5)
  สเปน (7)
  โปรตุเกส (8)

  เม็กซิโก (9)
  เนเธอร์แลนด์ (10)
  เดนมาร์ก (11)
  เยอรมนี (12)
  อุรุกวัย (13)
  สวิตเซอร์แลนด์ (14)
  สหรัฐ (15)
  โครเอเชีย (16)

  เซเนกัล (20)
  อิหร่าน (21)
  ญี่ปุ่น (23)
  โมร็อกโก (24)
  เซอร์เบีย (25)
  โปแลนด์ (26)
  เกาหลีใต้ (29)
  ตูนิเซีย (35)

  แคเมอรูน (37)
  แคนาดา (38)
  เอกวาดอร์ (46)
  ซาอุดีอาระเบีย (49)
  กานา (60)
  เวลส์ (18)[b]
  คอสตาริกา (31)[c]
  ออสเตรเลีย (42)[d]

ผู้เล่น

แก้

ผู้ตัดสิน

แก้

เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ฟีฟ่าได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสิน 36 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 69 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ 24 คนสำหรับการแข่งขัน[15][16] เป็นครั้งแรกที่ผู้ตัดสินหญิงจะเป็นผู้ตัดสินเกมในการแข่งขันรายการใหญ่ชาย

Stéphanie Frappart จากฝรั่งเศส, Salima Mukansanga จากรวันดา และ Yoshimi Yamashita จากญี่ปุ่น กลายเป็นผู้ตัดสินหญิงคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งให้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกชาย Frappart ดูแลการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงปี 2019 รอบชิงชนะเลิศ[17]

สนามแข่งขัน

แก้
ลูซัยล์ อัลเคาร์ โดฮา
สนามกีฬานานาชาติลูซัยล์ สนามกีฬาอัลบัยต์ สนามกีฬา 974 สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์
ความจุ: 80,000 ที่นั่ง
ความจุ: 60,000 ที่นั่ง[18] ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[19]
ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[20]
เมืองเจ้าภาพในกาตาร์ สนามกีฬาในพื้นที่โดฮา
อัรร็อยยาน อัลวักเราะฮ์
สนามกีฬานานาชาติเคาะลีฟะฮ์ สนามกีฬานครการศึกษา สนามกีฬาอะห์มัด บิน อะลี[e] สนามกีฬาอัลญะนูบ
ความจุ: 45,416 ที่นั่ง[21] ความจุ: 45,350 ที่นั่ง[22] ความจุ: 44,740 ที่นั่ง[23] ความจุ: 40,000 ที่นั่ง[24]
 

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

กลุ่มเอ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เนเธอร์แลนด์ 3 2 1 0 5 1 +4 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   เซเนกัล 3 2 0 1 5 4 +1 6
3   เอกวาดอร์ 3 1 1 1 4 3 +1 4
4   กาตาร์ (H) 3 0 0 3 1 7 −6 0
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ


กลุ่มบี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อังกฤษ 3 2 1 0 9 2 +7 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   สหรัฐ 3 1 2 0 2 1 +1 5
3   อิหร่าน 3 1 0 2 4 7 −3 3
4   เวลส์ 3 0 1 2 1 6 −5 1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า


กลุ่มซี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อาร์เจนตินา 3 2 0 1 5 2 +3 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   โปแลนด์ 3 1 1 1 2 2 0 4
3   เม็กซิโก 3 1 1 1 2 3 −1 4
4   ซาอุดีอาระเบีย 3 1 0 2 3 5 −2 3
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
เม็กซิโก  0–0  โปแลนด์
รายงาน
ผู้ชม: 39,369 คน


กลุ่มดี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ฝรั่งเศส 3 2 0 1 6 3 +3 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   ออสเตรเลีย 3 2 0 1 3 4 −1 6
3   ตูนิเซีย 3 1 1 1 1 1 0 4
4   เดนมาร์ก 3 0 1 2 1 3 −2 1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า


กลุ่มอี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 3 2 0 1 4 3 +1 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   สเปน 3 1 1 1 9 3 +6 4
3   เยอรมนี 3 1 1 1 6 5 +1 4
4   คอสตาริกา 3 1 0 2 3 11 −8 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2022. แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า


กลุ่มเอฟ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   โมร็อกโก 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   โครเอเชีย 3 1 2 0 4 1 +3 5
3   เบลเยียม 3 1 1 1 1 2 −1 4
4   แคนาดา 3 0 0 3 2 7 −5 0
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า


แคนาดา  1–2  โมร็อกโก
รายงาน

กลุ่มจี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   บราซิล 3 2 0 1 3 1 +2 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   สวิตเซอร์แลนด์ 3 2 0 1 4 3 +1 6
3   แคเมอรูน 3 1 1 1 4 4 0 4
4   เซอร์เบีย 3 0 1 2 5 8 −3 1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า


กลุ่มเอช

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   โปรตุเกส 3 2 0 1 6 4 +2 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   เกาหลีใต้ 3 1 1 1 4 4 0 4
3   อุรุกวัย 3 1 1 1 2 2 0 4
4   กานา 3 1 0 2 5 7 −2 3
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า


รอบแพ้คัดออก

แก้

สายการแข่งขัน

แก้
 
รอบ 16 ทีมรอบก่อนรองฯรอบรองฯชิงชนะเลิศ
 
              
 
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์)
 
 
  เนเธอร์แลนด์3
 
9 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
  สหรัฐ1
 
  เนเธอร์แลนด์2 (3)
 
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (อะห์มัด บิน อะลี)
 
  อาร์เจนตินา
(ลูกโทษ)
2 (4)
 
  อาร์เจนตินา2
 
13 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
  ออสเตรเลีย1
 
  อาร์เจนตินา3
 
5 ธันวาคม – อัลวักเราะฮ์
 
  โครเอเชีย0
 
  ญี่ปุ่น1 (1)
 
9 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา)
 
  โครเอเชีย
(ลูกโทษ)
1 (3)
 
  โครเอเชีย
(ลูกโทษ)
1 (4)
 
5 ธันวาคม – โดฮา (974)
 
  บราซิล1 (2)
 
  บราซิล4
 
18 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
  เกาหลีใต้1
 
  อาร์เจนตินา
(ลูกโทษ)
3 (4)
 
4 ธันวาคม – อัลเคาร์
 
  ฝรั่งเศส3 (2)
 
  อังกฤษ3
 
10 ธันวาคม – อัลเคาร์
 
  เซเนกัล0
 
  อังกฤษ1
 
4 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์)
 
  ฝรั่งเศส2
 
  ฝรั่งเศส3
 
14 ธันวาคม – อัลเคาร์
 
  โปแลนด์1
 
  ฝรั่งเศส2
 
6 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา)
 
  โมร็อกโก0 ชิงที่สาม
 
  โมร็อกโก
(ลูกโทษ)
0 (3)
 
10 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์)17 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์)
 
  สเปน0 (0)
 
  โมร็อกโก1  โครเอเชีย2
 
6 ธันวาคม – ลูซัยล์
 
  โปรตุเกส0   โมร็อกโก1
 
  โปรตุเกส6
 
 
  สวิตเซอร์แลนด์1
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

แก้







รอบก่อนรองชนะเลิศ

แก้



รอบรองชนะเลิศ

แก้

รอบชิงอันดับที่ 3

แก้

รอบชิงชนะเลิศ

แก้

รางวัล

แก้

รางวัลด้านล่างนี้ได้มอบให้หลังได้บทสรุปของการแข่งขัน. รางวัลรองเท้าทองคำ, ลูกบอลทองคำ และ ถุงมือทองคำ ได้รับการสนับสนุนจาก อาดิดาส.[25][26]

ลูกบอลทองคำ ลูกบอลเงิน ลูกบอลทองแดง
  ลิโอเนล เมสซิ   กีลียาน อึมบาเป   ลูคา มอดริช
รองเท้าทองคำ รองเท้าเงิน รองเท้าทองแดง
  กีลียาน อึมบาเป   ลิโอเนล เมสซิ   ออลีวีเย ฌีรู
8 ประตู, 2 แอสซิสต์
597 นาทีที่ลงเล่น
7 ประตู, 3 แอสซิสต์
690 นาทีที่ลงเล่น
4 ประตู, 0 แอสซิสต์
423 นาทีที่ลงเล่น
ถุงมือทองคำ
  เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม
  เอนโซ เฟร์นันเดซ
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
  อังกฤษ

สถิติ

แก้

ผู้ทำประตู

แก้

มีการทำประตู 172 ประตู จากการแข่งขัน 64 นัด เฉลี่ย 2.69 ประตูต่อนัด


การทำประตู 8 ครั้ง

การทำประตู 7 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง