ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน
ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน (ฝรั่งเศส: Équipe nationale du camerounaise de football) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศแคเมอรูน อยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลแคเมอรูน และเป็นทีมจากแอฟริกาที่ประสบความสำเร็จที่สุด โดยทีมชาติแคเมอรูนเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 8 ครั้ง คือในปี 1982, 1990, 1994, 1998, 2002, 2010 2014 และ 2022 มากกว่าชาติใดในแอฟริกา นอกจากนั้นยังเป็นทีมที่เข้ารอบ 8 ทีมสุดท้ายในฟุตบอลโลก โดยในปี 1990 ทีมชาติแคเมอรูนพ่ายให้กับฟุตบอลทีมชาติอังกฤษในช่วงต่อเวลาพิเศษ พวกเขาชนะการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 5 ครั้ง และยังได้เหรียญทองในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2000
ฉายา | Les Lions Indomptables (สิงโตทรหด) หมอผี (ฉายาในภาษาไทย) | |||
---|---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลแคเมอรูน | |||
สมาพันธ์ย่อย | UNIFFAC (แอฟริกากลาง) | |||
สมาพันธ์ | CAF (แอฟริกา) | |||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Marc Brys | |||
กัปตัน | แว็งซ็อง อาบูบาการ์ | |||
ติดทีมชาติสูงสุด | ริโกแบร์ ซง (137) | |||
ทำประตูสูงสุด | ซามุแอล เอโต (56)[1] | |||
สนามเหย้า | Olembe Stadium | |||
รหัสฟีฟ่า | CMR | |||
| ||||
อันดับฟีฟ่า | ||||
อันดับปัจจุบัน | 49 2 (20 มิถุนายน 2024)[2] | |||
อันดับสูงสุด | 11 (พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 – มกราคม ค.ศ. 2007, พฤศจิกายน – ธันวาคม ค.ศ. 2009) | |||
อันดับต่ำสุด | 79 (กุมภาพันธ์ – มีนาคม ค.ศ. 2013) | |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | ||||
คองโกของเบลเยียม 3–2 แคเมอรูนของฝรั่งเศส (เบลเจียนคองโก; กันยายน ค.ศ. 1956) | ||||
ชนะสูงสุด | ||||
แคเมอรูน 9–0 ชาด (กินชาซา สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก; 7 เมษายน ค.ศ. 1965) | ||||
แพ้สูงสุด | ||||
เกาหลีใต้ 5–0 แคเมอรูน (โซล ประเทศเกาหลีใต้; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1984) นอร์เวย์ 6–1 แคเมอรูน (ออสโล ประเทศนอร์เวย์; 31 ตุลาคม ค.ศ. 1990) รัสเซีย 6–1 แคเมอรูน (แพโลแอลโท สหรัฐ; 28 มิถุนายน ค.ศ. 1994) คอสตาริกา 5–0 แคเมอรูน (ซานโฮเซ ประเทศคอสตาริกา; 9 มีนาคม ค.ศ. 1997) | ||||
ฟุตบอลโลก | ||||
เข้าร่วม | 8 (ครั้งแรกใน 1982) | |||
ผลงานดีที่สุด | รอบรองชนะเลิศ (1990) | |||
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ | ||||
เข้าร่วม | 20 (ครั้งแรกใน 1970) | |||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1984, 1988, 2000, 2002, 2017) | |||
African Nations Championship | ||||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 2011) | |||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 4 (2020) | |||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | ||||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 2001) | |||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (2003) |
อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "9 Samuel ETOO". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 June 2014. สืบค้นเมื่อ 1 March 2016.
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน