ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 (อังกฤษ: 2003 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ ครั้งที่ 4 จัดโดยฟีฟ่า ระหว่างวันที่ 18 – 29 มิถุนายน ค.ศ. 2003 ที่ประเทศฝรั่งเศส

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003
Coupe des Confédérations 2003
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพฝรั่งเศส
วันที่18 มิถุนายน – 29 มิถุนายน
ทีม(จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ฝรั่งเศส (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศ แคเมอรูน
อันดับที่ 3 ตุรกี
อันดับที่ 4 โคลอมเบีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู37 (2.31 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม491,700 (30,731 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศฝรั่งเศส ตีแยรี อ็องรี (4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประเทศฝรั่งเศส ตีแยรี อ็องรี
2001
2005

ทีมชาติฝรั่งเศส ทีมเจ้าภาพได้ชนะเลิศการแข่งขันในปีนี้หลังจากสามารถเอาชนะ แคเมอรูน ในรอบชิงชนะเลิศได้ 1–0

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

แก้
 
แผนที่ทีมที่ผ่านเข้ารอบฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003
ทีม สมาพันธ์ วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ ครั้งที่เข้ารอบ
  ฝรั่งเศส ยูฟ่า ชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000
เจ้าภาพ
2 กรกฎาคม 2000
24 กันยายน 2002
2
  บราซิล คอนเมบอล ชนะเลิศ ฟุตบอลโลก 2002 30 มิถุนายน 2002 4
  ญี่ปุ่น เอเอฟซี ชนะเลิศ เอเชียนคัพ 2000 29 ตุลาคม 2000 3
  โคลอมเบีย คอนเมบอล ชนะเลิศ โกปาอาเมริกา 2001 29 กรกฎาคม 2001 1
  สหรัฐ คอนคาแคฟ ชนะเลิศ คอนคาเคฟโกลด์คัพ 2002 2 กุมภาพันธ์ 2002 3
  แคเมอรูน ซีเอเอฟ ชนะเลิศ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2002 10 กุมภาพันธ์ 2002 2
  ตุรกี ยูฟ่า อันดับที่ 3 ฟุตบอลโลก 2002 29 มิถุนายน 2002 1
  นิวซีแลนด์ โอเอฟซี ชนะเลิศ โอเอฟซีเนชันส์คัพ 2002 14 กรกฎาคม 2002 2

หมายเหตุ: ตุรกีได้ผ่านเข้ารอบเนื่องจากฝรั่งเศสนั้นเป็นเจ้าภาพการแข่งขันและยังเป็นแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 ทำให้ต้องหาอีก 1 ทีมเพื่อที่จะเข้ารอบในรายการนี้โดยอิตาลี รองแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 และ เยอรมันรองแชมป์ฟุตบอลโลก 2002 ได้ปฏิเสธไม่เข้าร่วมแข่งขันทำให้สิทธิ์นี้นั้นตกเป็นของตุรกี ในที่สุด

สนามแข่งขัน

แก้
แซ็ง-เดอนี ลียง แซ็งเตเตียน
สตาดเดอฟร็องส์ สตาดเดอแฌร์ล็อง สตาดฌอฟรัว-กีชาร์
ความจุ: 80,000 ความจุ: 41,200 ความจุ: 36,000
     

ผู้ตัดสิน

แก้

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

กลุ่ม A

แก้
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
  ฝรั่งเศส 3 3 0 0 8 1 +7 9
  โคลอมเบีย 3 2 0 1 4 2 +2 6
  ญี่ปุ่น 3 1 0 2 4 3 +1 3
  นิวซีแลนด์ 3 0 0 3 1 11 −10 0





กลุ่ม B

แก้
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
  แคเมอรูน 3 2 1 0 2 0 +2 7
  ตุรกี 3 1 1 1 4 4 0 4
  บราซิล 3 1 1 1 3 3 0 4
  สหรัฐ 3 0 1 2 1 3 −2 1





รอบแพ้คัดออก

แก้
  Semi-finals Final
26 June - ลียง
   แคเมอรูน  1  
   โคลอมเบีย  0  
 
29 มิถุนายน - แซ็ง-เดอนี
       แคเมอรูน  0
     ฝรั่งเศส (a.e.t.)  1
Third place
26 June - แซ็ง-เดอนี 28 June - แซ็งเตเตียน
   ฝรั่งเศส  3    โคลอมเบีย  1
   ตุรกี  2      ตุรกี  2

รอบรองชนะเลิศ

แก้

รอบชิงที่ 3

แก้

รอบชิงชนะเลิศ

แก้

รางวัล

แก้
บอลทองคำ รองเท้าทองคำ รางวัลทีมที่เล่นขาวสะอาด
  ตีแยรี อ็องรี   ตีแยรี อ็องรี   ญี่ปุ่น
บอลเงิน รองเท้าเงิน
  ทาคี ซาลี่   ทาคี ซาลี่
บอลบรอนซ์ รองเท้าบรอนซ์
  มาร์ช-วิวิเซน โฟ   ชุนซุเกะ นะกะมุระ

ดาวซัลโว

แก้

อ้างอิง

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้