ฟุตบอลชายทีมชาติแคนาดา

(เปลี่ยนทางจาก ฟุตบอลทีมชาติแคนาดา)

ฟุตบอลชายทีมชาติแคนาดา (ฝรั่งเศส: Équipe du Canada de soccer masculin)[2][3][4] เป็นทีมฟุตบอลชายที่เป็นตัวแทนของประเทศแคนาดามาตั้งแต่ ค.ศ. 1924 อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลแคนาดาซึ่งเป็นเป็นหน่วยงานที่กำกับดูแลฟุตบอลในประเทศแคนาดา พวกเขาเป็นสมาชิกฟีฟ่าตั้งแต่ ค.ศ. 1948 และเป็นสมาชิกคอนคาแคฟตั้งแต่ ค.ศ. 1961[5]

แคนาดา
Shirt badge/Association crest
ฉายาเมเปิ้ลแดง (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลแคนาดา
สมาพันธ์ย่อยNAFU
สมาพันธ์CONCACAF
หัวหน้าผู้ฝึกสอนMauro Biello (ชั่วคราว)
กัปตันMilan Borjan
ติดทีมชาติสูงสุดAtiba Hutchinson (104)
ทำประตูสูงสุดไคล์ แลริน (28)
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าCAN
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 48 เพิ่มขึ้น 1 (มิถุนายน 20, 2024)[1]
อันดับสูงสุด33 (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022)
อันดับต่ำสุด122 (สิงหาคม ค.ศ. 2014, ตุลาคม ค.ศ. 2014)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3–2 แคนาดา ธงชาติแคนาดา
(บริสเบน ประเทศออสเตรเลีย; 7 มิถุนายน ค.ศ. 1924)
ชนะสูงสุด
ธงชาติหมู่เกาะเคย์แมน หมู่เกาะเคย์แมน 0–11 แคนาดา ธงชาติแคนาดา
(เบรดันตัน สหรัฐ; 29 มีนาคม ค.ศ. 2021)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 8–0 แคนาดา [[Image:{{{flag alias-Pantone}}}|22x20px|border |ธงชาติแคนาดา]]
(เม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก; 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1993)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1986)
ผลงานดีที่สุดรอบแบ่งกลุ่ม (1986 และ 2022)
โกลด์คัพ
เข้าร่วม19 (ครั้งแรกใน 1977)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1985, 2000)
เนชันส์ลีก รอบสุดท้าย
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2023)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (2023)
โกปาอาเมริกา
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2024)
ผลงานดีที่สุดTBD (2024)
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

ความสำเร็จที่โดดเด่นที่สุดของทีมชาติแคนาดาคือการชนะเลิศคอนคาแคฟแชมเปียนชิป 1985 ทำให้ได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลก 1986[6] และชนะเลิศ คอนคาแคฟโกลด์คัพ 2000 จนได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2001[7] แคนาดาเป็นเพียงชาติเดียวที่ชนะเลิศคอนคาแคฟโกลด์คัพนอกเหนือจากมหาอำนาจของทวีปอย่างเม็กซิโกและสหรัฐ[8] พวกเขายังคว้าเหรียญทองในการแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1904[9]

ทีมชาติแคนาดาเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกเป็นครั้งที่สองในปี 2022 และจะเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2026 ร่วมกับ สหรัฐและเม็กซิโก

สนาม

แก้

ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก ทีมชาติแคนาดาใช้บีเอ็มโอฟีลด์ในโทรอนโต, สนามกีฬาเครือจักรภพในเอ็ดมันตัน และทิมฮอร์ตันส์ฟีลด์ในแฮมิลตัน เป็นสนามเหย้า[10] บีเอ็มโอฟีลด์เป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ รองลงมาเป็นสนามกีฬาซาปูโตในมอนทรีออล

ชุดประจำทีม

แก้
ชุดแบบที่หนึ่ง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1986
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1991-92
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1993-95
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1999
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2000
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2000-01
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2002-03
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2006
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2008
 
 
 
 
 
 
2011
 
 
 
 
 
 
 
2012
 
 
 
 
 
 
 
2015
 
 
 
 
 
 
 
 
2016-17
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2018
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2019
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2020
ชุดแบบที่สอง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1986
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1991-92
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2000
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2000-01
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2002-03
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2006
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2008
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2011
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2012
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2015
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2015-17
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2018
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2019
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2020

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. มิถุนายน 20, 2024. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 20, 2024.
  2. Wiebe, Andrew (June 28, 2019). "(bleep)-show circus for USWNT, Pulisic's place & CanMNT dreams". MLS Soccer. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 17, 2019. สืบค้นเมื่อ August 30, 2019.
  3. Murray, Nicholas (August 6, 2019). "Fury FC's Haworth Has Earned CanMNT Call". USL Championship. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 30, 2019. สืบค้นเมื่อ August 30, 2019.
  4. Prusna, Sandra (August 28, 2019). "Carducci plays hero vs. Pacific after CanMNT nod". CanPL.ca. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 30, 2019. สืบค้นเมื่อ August 30, 2019.
  5. "About Us | Canada Soccer". Canadasoccer.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 4, 2017. สืบค้นเมื่อ February 12, 2017.
  6. "Canada Soccer from 1983 to 1986 | Canada Soccer". Canadasoccer.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 26, 2017. สืบค้นเมื่อ February 12, 2017.
  7. "Canada Soccer from 1999 to 2002 | Canada Soccer". Canadasoccer.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 20, 2016. สืบค้นเมื่อ February 12, 2017.
  8. Finch, Ty (July 3, 2017). "List of Gold Cup winners". FanSided. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 10, 2017. สืบค้นเมื่อ October 10, 2017.
  9. "St Louis 1904 football men - Olympic Football". Olympic.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 13, 2017. สืบค้นเมื่อ February 12, 2017.
  10. เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านการเดินทางอันเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ทำให้ทีมชาติแคนาดาต้องลงเล่นเกมเหย้าที่สหรัฐในการแข่งขันรอบคัดเลือกรอบแรกและรอบที่ 2 Davidson, Neil (May 10, 2021). "Canadian men will play next 2 World Cup qualifying matches in U.S." CBC Sports (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). สืบค้นเมื่อ August 31, 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน