โดฮา (อังกฤษ: Doha; อาหรับ: الدوحة) เป็นเมืองหลวงของประเทศกาตาร์ ตั้งอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย มีประชากรราว 400,051 คน (จากข้อมูลปี 2005)[2] โดฮาเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในกาตาร์ ด้วยประชากรมากกว่า 80% ของประเทศอาศัยอยู่ในโดฮาหรือปริมณฑล และยังเป็นเมืองศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจของประเทศ และยังเป็นที่ตั้งของรัฐบาลของกาตาร์ ที่ปกครองโดยเชคฮามัด บิน คอลีฟะห์ อัลตานี โดฮายังเคยเป็นเมืองเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2006

โดฮา

الدوحة
เมืองและเทศบาลนคร
Doha skyline at night
West Bay skyline
The Emir's Palace
Sheraton Hotel
Souq Waqif
National Museum of Qatar
Msheireb
Katara Village
ที่ตั้งของเทศบาลนครโดฮา
ที่ตั้งของเทศบาลนครโดฮา
พิกัด: 25°17′12″N 51°32′0″E / 25.28667°N 51.53333°E / 25.28667; 51.53333พิกัดภูมิศาสตร์: 25°17′12″N 51°32′0″E / 25.28667°N 51.53333°E / 25.28667; 51.53333
ประเทศ กาตาร์
เทศบาลอัดเดาฮะห์
ก่อตั้งพ.ศ. 2368
พื้นที่
 • ทั้งหมด132 ตร.กม. (51 ตร.ไมล์)
ประชากร
 • ทั้งหมด1,312,947 คน
 • ความหนาแน่น9,900 คน/ตร.กม. (26,000 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+3 (AST)

ประวัติศาสตร์แก้ไข

ภูมิอากาศแก้ไข

ข้อมูลภูมิอากาศของโดฮา
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 31.2
(88.2)
36.0
(96.8)
39.0
(102.2)
46.0
(114.8)
47.7
(117.9)
49.0
(120.2)
48.2
(118.8)
48.0
(118.4)
45.5
(113.9)
43.4
(110.1)
38.0
(100.4)
32.2
(90)
49
(120.2)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 21.7
(71.1)
23.0
(73.4)
26.8
(80.2)
31.9
(89.4)
38.2
(100.8)
41.2
(106.2)
41.5
(106.7)
40.7
(105.3)
38.6
(101.5)
35.2
(95.4)
29.5
(85.1)
24.1
(75.4)
32.7
(90.86)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 17.0
(62.6)
17.9
(64.2)
21.2
(70.2)
25.7
(78.3)
31.0
(87.8)
33.9
(93)
34.7
(94.5)
34.3
(93.7)
32.2
(90)
28.9
(84)
24.2
(75.6)
19.2
(66.6)
26.68
(80.03)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 12.8
(55)
13.7
(56.7)
16.7
(62.1)
20.6
(69.1)
25.0
(77)
27.7
(81.9)
29.1
(84.4)
28.9
(84)
26.5
(79.7)
23.4
(74.1)
19.5
(67.1)
15.0
(59)
21.58
(70.84)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 3.8
(38.8)
5.0
(41)
8.2
(46.8)
10.5
(50.9)
15.2
(59.4)
21.0
(69.8)
23.5
(74.3)
22.4
(72.3)
20.3
(68.5)
16.6
(61.9)
11.8
(53.2)
6.4
(43.5)
3.8
(38.8)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 13.2
(0.52)
17.1
(0.673)
16.1
(0.634)
8.7
(0.343)
3.6
(0.142)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
1.1
(0.043)
3.3
(0.13)
12.1
(0.476)
75.2
(2.961)
ความชื้นร้อยละ 71 70 63 52 44 41 49 55 62 63 66 71 58.9
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 1.7 2.1 1.8 1.4 0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.2 1.3 8.8
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 244.9 224.0 241.8 273.0 325.5 342.0 325.5 328.6 306.0 303.8 276.0 241.8 3,432.9
แหล่งที่มา: NOAA (1962-1992) [3]

ประชากรแก้ไข

ปี ประชากร ปริมณฑล
1986 217,294[4]
1992 313,639[5] [6]
2001 299,300[7]
2004 339,847[8] 612,707
2005 400,051[9][10]
2008 998,651[11]
ประชากรแบ่งตามสัญชาติและเพศ
ปี ชาวกาตาร์เพศชาย ชาวกาตาร์เพศหญิง ชาวกาตาร์ทั้งหมด ชาวต่างชาติเพศชาย ชาวต่างชาติเพศหญิง ชาวต่างชาติทั้งหมด เพศชาย เพศหญิง ทั้งหมด
2001 1045 1035 2080 1878 1741 3619 2923 2776 5699
2002 932 943 1875 1877 1780 3657 2809 2723 5532
2003 1104 1068 2172 2064 1963 4027 3168 3031 6199
2004 1054 1000 2054 1946 1814 3760 3000 2814 5814
2005 867 900 1767 2007 1892 3899 2874 2792 5666
2006 961 947 1908 2108 2008 4116 3069 2955 6024
2007 995 918 1913 2416 2292 4708 3411 3210 6621
2008 955 895 1850 2660 2623 5283 3615 3518 7133
2009 1098 1043 2141 3025 2954 5979 4123 3997 8120

การแบ่งเขตการปกครองแก้ไข

 
เขตเทศบาลในกาตาร์
 
สวนสาธารณะ Al Bidda
ภาพพาโนรามากรุงโดฮา มองจากอ่าวโดฮา

เศรษฐกิจแก้ไข

  ดูบทความหลักที่ เศรษฐกิจกาตาร์

น้ำมันและก๊าซธรรมชาติของกาตาร์ส่วนมาก เป็นตัวสำคัญทำให้เศรษฐกิจก้าวหน้า และโดฮายังเป็นแหล่งเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอีกด้วย เศรษฐกิจโดฮาสร้างรายได้กับประเทศได้อย่างมหาศาล รัฐบาลกาตาร์พยายามที่จะกระจายการลงทุนในการสั่งซื้อน้ำมันอย่างรวดเร็ว เป็นผลให้มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการขยายตัวเมืองขึ้นมาก

สายการบิน กาตาร์แอร์เวย์ มีสำนักงานใหญ่ที่กรุงโดฮา

การคมนาคมแก้ไข

  ดูบทความหลักที่ การคมนาคมในโดฮา

โดฮา มีการพัฒนาการคมนาคมอย่างมาก เช่น การสร้างทางหลวงสายใหม่ การสร้างท่าอากาศยานนานาชาติโดฮาใหม่ และวางแผนสร้างรถไฟฟ้าใต้ดิน ซึ่งการคมนาคมของโดฮาเติบโตในระยะเวลาสั้นๆเท่านั้น

การศึกษาแก้ไข

สถานบันอุดมศึกษาในโดฮา

สถานบันอุดมศึกษาอื่นๆ ในโดฮา

กีฬาแก้ไข

โดฮาเคยเป็นเมืองเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 2006 และเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาภูมิภาคเอเชียตะวันตก ครั้งที่ 3 และวางแผนเป็นเจ้าภาพการแข่งขันเอเชียนอินดอร์เกมส์ 2011 แต่ได้ถูกยกเลิกไป

เมืองพี่น้องแก้ไข

ห้องแสดงภาพแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

  1. "Census 2013". Qatar Statistics Authority. 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-09. สืบค้นเมื่อ 2013-07-25. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. "Sheraton Doha Hotel & Resort | Hotel discount bookings in Qatar". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-19. สืบค้นเมื่อ 2022-01-10.
  3. "Doha International Airport Climate Normals 1962-1992". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ January 18, 2012.
  4. "Sheraton Doha Hotel & Resort | Hotel discount bookings in Qatar". Hotelrentalgroup.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-19. สืบค้นเมื่อ 2010-06-27.
  5. "Sheraton Doha Hotel & Resort | Hotel discount bookings in Qatar". Hotelrentalgroup.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-19. สืบค้นเมื่อ 2010-06-27.
  6. "Capital Doha Population 484". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-25. สืบค้นเมื่อ 2009-10-25.
  7. "Doha". Tiscali.co.uk. 1984-02-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-05. สืบค้นเมื่อ 2010-06-27.
  8. "Sudan Airways – Doha". Sudanair.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-19. สืบค้นเมื่อ 2010-06-27.
  9. "Sheraton Doha Hotel & Resort | Hotel discount bookings in Qatar". Hotelrentalgroup.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-08-19. สืบค้นเมื่อ 2010-06-27.
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-09. สืบค้นเมื่อ 2013-03-21.
  11. "Doha 2016 Summer Olympic Games Bid". Gamesbids.com. สืบค้นเมื่อ 2010-06-27.
  12. Tirana binjakëzohet me Dohan เก็บถาวร 2013-09-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Tv Klan 2012-02-12 (in Albanian)