ซาราเยโว (บอสเนีย: Sarajevo, ซีริลลิก: Сарајево, ออกเสียง: [sǎrajeʋo] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองหลวง[6] และเมืองใหญ่สุดของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ด้วยประชากร 275,569 คนในเขตปกครองของซาราเยโว[7][5] พื้นที่ของเขตมหานครซาราเยโวครอบคลุมรัฐซาราเยโว, ซาราเยโวตะวันออก และเทศบาลรอบ ๆ ทั้งเขตมหานครมีประชากรรวม 555,210 คน ซาราเยโวมีแม่น้ำมิลยัตสกาเป็นแม่น้ำสายหลัก

ซาราเยโว

Сарајево
Grad Sarajevo
Град Сарајево
เมืองซาราเยโว
ธงของซาราเยโว
ธง
ตราราชการของซาราเยโว
ตราอาร์ม
สมญา: 
"เยรูซาเลมแห่งยุโรป",[1] "เยรูซาเลมแห่งบอลข่าน",[2] "Šeher, Rajvosa"[3]
ซาราเยโวตั้งอยู่ในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ซาราเยโว
ซาราเยโว
ที่ตั้งในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ซาราเยโวตั้งอยู่ในบอลข่าน
ซาราเยโว
ซาราเยโว
ที่ตั้งในยุโรป
ซาราเยโวตั้งอยู่ในยุโรป
ซาราเยโว
ซาราเยโว
ซาราเยโว (ยุโรป)
พิกัด: 43°52′N 18°25′E / 43.867°N 18.417°E / 43.867; 18.417
ประเทศธงของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ส่วนสหภาพบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
แคนทอนซาราเยโว
เทศบาล:
4
ก่อตั้งค.ศ. 1461
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีBenjamina Karić[4] (SDP BiH)
พื้นที่
 • City proper141.5 ตร.กม. (54.6 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง419.16 ตร.กม. (161.84 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล3,350 ตร.กม. (1,290 ตร.ไมล์)
ความสูง550 เมตร (1,800 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน ค.ศ. 2013)[5]
 • City proper275,524 คน
 • ความหนาแน่น1,900 คน/ตร.กม. (5,000 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง419,957 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง1,000 คน/ตร.กม. (2,600 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล555,210 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล170 คน/ตร.กม. (430 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัสไปรษณีย์71000
รหัสพื้นที่+387 33
เว็บไซต์sarajevo.ba

ซาราเยโวเป็นศูนย์กลางทางการเมือง การเงิน สังคม และวัฒนธรรมของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รวมถึงเป็นศูนย์กลางสำคัญหนึ่งของภูมิภาคบอลข่าน[8][9] ซาราเยโวมีประวัติศาสตร์ของความหลากหลายทางศาสนาที่เก่าแก่ยาวนาน จึงได้รับฉายาว่าเป็น "เยรูซาเลมยุโรป"[1] หรือ "เยรูซาเลมบอลข่าน"[2] ซาราเยโวเป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองหลักของยุโรปที่มีทั้งมัสยิด โบสถ์คาทอลิก โบสถ์ออร์ทอดอกซ์ และโบสถ์ยิวตั้งอยู่ด้วยกันในย่านเดียวกัน[10] ซาราเยโวยังเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาหนึ่งของภูมิภาคบอลข่าน เป็นที่ตั้งของสถาบันการศึกษาระดับอุมศึกษาแห่งแรกของภูมิภาค (หากไม่รวมตุรกีและกรีซ) คือวิทยาลัยอิสลามโบราณหรือมัดเราะซะฮ์ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยซาราเยโว[11]

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 Stilinović, Josip (3 January 2002). "In Europe's Jerusalem", Catholic World News. The city's principal mosques are the Gazi Husrev-Bey's Mosque, or Begova Džamija (1530), and the Mosque of Ali Pasha (1560–61). Retrieved on 5 August 2006.
  2. 2.0 2.1 Benbassa, Esther; Attias, Jean-Christophe (2004). The Jews and their Future: A Conversation on Judaism and Jewish Identities. London: Zed Books. p. 27. ISBN 978-1-84277-391-8. Sarajevo.
  3. "Visit Sarajevo: A Brief History of the City". Visit Sarajevo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2011. สืบค้นเมื่อ 28 March 2012.
  4. R.D. (8 April 2021). "Benjamina Karić je zvanično nova gradonačelnica Sarajeva" (ภาษาบอสเนีย). Klix.ba. สืบค้นเมื่อ 8 April 2021.
  5. 5.0 5.1 "Census of Population, Households and Dwellings in Bosnia and Herzegovina: Final Results" (PDF). Agencija za statistiku Bosne i Hercegovine. 2013. สืบค้นเมื่อ 28 July 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  6. "THE WORLD FACTBOOK". 2015-09-06. สืบค้นเมื่อ 2018-08-14.
  7. Toe, Rodolfo (1 July 2016). "Census Results Highlight Impact of Bosnian War". Balkan Transitional Justice. Balkan Investigative Reporting Network. สืบค้นเมื่อ 14 October 2017.
  8. "Sarajevo: The economic, administrative, cultural and educational center of Bosnia and Herzegovina". Mediterranea News. 12 May 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 April 2012. สืบค้นเมื่อ 5 April 2012.
  9. daenet d.o.o. "Sarajevo Official Web Site : Economy". Sarajevo.ba. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-01. สืบค้นเมื่อ 5 April 2012.
  10. Malcolm, Noel (1996). Bosnia: A Short History [Paperback]. London: NYU Press. pp. 107, 364. ISBN 978-0-8147-5561-7.
  11. Agency, Anadolu. "Saraybosna'da 476 yıldır yaşayan medrese! (Sarajevo Celebrates 476 Years of its Medresa!)". Haber7. สืบค้นเมื่อ 11 November 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้