เยเรวาน (อาร์มีเนีย: Երևան) บางครั้งเรียกว่า เอเรวาน (Erevan) ชื่อเดิมคือ เอเรบูนี (Erebuni) และ เอรีวาน (Erivan) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอาร์มีเนีย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำฮรัซดัน (Hrazdan River) กรุงเยเรวานเป็นศูนย์กลางการบริหาร วัฒนธรรม และอุตสาหกรรมของประเทศ ปัจจุบันมีประชากร 1,088,000 คน (ค.ศ. 2004) มีนายตารอน มาร์กาเรียน (Taron Margaryan) เป็นนายกเทศมนตรี

เยเรวาน

Երևան
บนลงล่าง ซ้ายไปขวา: ทิวทัศน์เมืองเยเรวานมอวเห็นภูเขาอาราราต  (ซึ่งอยู่ในประเทศตุรกี)• หมู่อาคารคาเรนเดมีร์ชยาน
อนุสรณ์สถานการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ทสิตเซร์นาคาเบร์ด • อาสนวิหารเซนต์เกรเกอรี
ถนนทามานยาน และ โรงละครเยเรวานโอเปร่า • พิพิธภัณฑ์คาเฟสเจียน ที่ คาสเคด
รีพับลิกสแควร์ยามค่ำคืน
ธงของเยเรวาน
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของเยเรวาน
ตรา
ประเทศธงของประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย
ก่อตั้งค.ศ. 782
ก่อตั้งเมือง1 ตุลาคม ค.ศ. 1879[1]
ผู้ก่อตั้งArgishti I
การปกครอง
 • ประเภทเทศมนตรี
 • องค์กรYerevan City Council
 • MayorTaron Margaryan (Republican)
พื้นที่
 • ตัวเมือง227 ตร.กม. (88 ตร.ไมล์)
ความสูง989.4 เมตร (3,246.1 ฟุต)
ประชากร
 (2011)
 • ตัวเมือง1,121,900 คน
 • ความหนาแน่น4,896 คน/ตร.กม. (12,680 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,230, 000 คน
เดมะนิมYerevani
เขตเวลาUTC+4 (GMT+4)
รหัสพื้นที่+374 10
เว็บไซต์yerevan.am/
Sources: Yerevan city area and population[2]

ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของเมืองนี้ย้อนไปถึงในช่วงศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช โดยมีการตั้งป้อมอูราร์เตียนแห่งเมืองเอเรบูนีเมื่อ 782 ปีก่อนคริสต์ศักราช[3] กรุงเยเรวานเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเยเรวานสเตต (1919) บัณฑิตยสถานอาร์มีเนีย รวมทั้งพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ โรงอุปรากร ห้องแสดงดนตรี สถาบันเทคโนโลยี ห้องสมุดสาธารณะขนาดใหญ่ สวนพฤกษศาสตร์ และสวนสัตว์อีกหลายแห่ง สถาบันมาเตนาดารัน (Matenadaran) ได้สะสมเอกสารต้นฉบับของอาร์มีเนียโบราณ กรีก ซีเรีย ฮีบรู โรมัน และเปอร์เซียที่มีค่าเอาไว้มากมาย เยเรวานยังเป็นหัวใจของเครือข่ายทางรถไฟและเป็นศูนย์กลางการค้าหลักของสินค้าเกษตรกรรมของประเทศ นอกจากนี้ โรงงานอุตสาหกรรมในเมืองนี้ยังผลิตโลหะ เครื่องมือจักรกล อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ และผลิตภัณฑ์อาหารอีกด้วย

ประวัติ แก้ไข

ภูมิศาสตร์ แก้ไข

ภูมิอากาศ แก้ไข

ข้อมูลภูมิอากาศของเยเรวาน
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 19.5
(67.1)
19.6
(67.3)
26.0
(78.8)
35.0
(95)
34.2
(93.6)
38.6
(101.5)
41.6
(106.9)
41.8
(107.2)
40.0
(104)
34.1
(93.4)
28.5
(83.3)
18.1
(64.6)
41.8
(107.2)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 0.6
(33.1)
3.7
(38.7)
11.7
(53.1)
19.5
(67.1)
24.3
(75.7)
29.6
(85.3)
34.0
(93.2)
33.0
(91.4)
29.0
(84.2)
20.7
(69.3)
12.1
(53.8)
4.5
(40.1)
18.5
(65.3)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -4.1
(24.6)
-1.3
(29.7)
5.6
(42.1)
12.9
(55.2)
17.2
(63)
22.0
(71.6)
26.2
(79.2)
25.3
(77.5)
21.1
(70)
13.2
(55.8)
6.0
(42.8)
-0.2
(31.6)
12.0
(53.6)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -7.8
(18)
-5.3
(22.5)
0.3
(32.5)
6.9
(44.4)
10.8
(51.4)
14.7
(58.5)
18.8
(65.8)
17.8
(64)
13.3
(55.9)
7.0
(44.6)
1.4
(34.5)
-3.6
(25.5)
6.2
(43.2)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −27.6
(-17.7)
−26.0
(-15)
−19.1
(-2.4)
−6.8
(19.8)
−0.6
(30.9)
3.7
(38.7)
7.5
(45.5)
7.9
(46.2)
0.1
(32.2)
−6.5
(20.3)
−14.4
(6.1)
−27.1
(-16.8)
−27.6
(−17.7)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 22
(0.87)
25
(0.98)
30
(1.18)
37
(1.46)
44
(1.73)
21
(0.83)
9
(0.35)
8
(0.31)
8
(0.31)
27
(1.06)
23
(0.91)
23
(0.91)
277
(10.91)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 92) 9 9 8 11 13 8 5 3 4 7 7 8 92
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 93.0 113.1 161.2 177.0 241.8 297.0 344.1 331.7 279.0 210.8 138.0 93.0 2,479.7
แหล่งที่มา: World Meteorological Organisation (UN), [4][5]

เมืองพี่น้อง แก้ไข

ปัจจุบัน กรุงเยเรวานมีเมืองพี่น้อง 27 เมือง

เมือง ประเทศ ปี
มอสโก   รัสเซีย
รอสตอฟ-ออน-ดอน   รัสเซีย
เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก   รัสเซีย
สตัฟโรปอล   รัสเซีย
วอลโกกราด   รัสเซีย ตั้งแต่ 1998
ลียง   ฝรั่งเศส
มาร์แซย์   ฝรั่งเศส
ปารีส   ฝรั่งเศส ตั้งแต่ 1998
การ์รารา   อิตาลี
ฟลอเรนซ์   อิตาลี
เคียฟ   ยูเครน
โอเดสซา   ยูเครน
ลอสแอนเจลิส   สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ 2006[6]
เคมบริดจ์   สหรัฐอเมริกา
บัวโนสไอเรส   อาร์เจนตินา
เซาเปาลู   บราซิล ตั้งแต่ 1999
มอนทรีออล   แคนาดา
เอเธนส์   กรีซ
บราติสลาวา   สโลวาเกีย
คีชีเนา   มอลโดวา
มินสค์   เบลารุส
พอดกอรีตซา   มอนเตเนโกร ตั้งแต่ 2006
ทบิลิซี   จอร์เจีย
เบรุต   เลบานอน
ดามัสกัส   ซีเรีย
อิสฟาฮาน   อิหร่าน
อันตานานารีโว   มาดากัสการ์

อ้างอิง แก้ไข

  1. ՍԱՐՈՒԽԱՆՅԱՆ, Պետրոս (21 September 2011). "Շնորհավո՛ր տոնդ, Երեւան դարձած իմ Էրեբունի". «Հայաստանի Հանրապետություն». สืบค้นเมื่อ 19 July 2012. (อาร์มีเนีย)
  2. Armstat Yerevan
  3. Katsenelinboĭgen, Aron (1990). The Soviet Union: Empire, Nation and Systems. New Brunswick (U.S.A) & London (U.K.): Transaction Publishers. p. 143. ISBN 0-88738-332-7.
  4. "Pogoda.ru.net".
  5. "Climatological Information for Yerevan, Armenia" – pogoda.ru.net
  6. http://clkrep.lacity.org/councilfiles/05-1748_rpt_cla_10-17-06.pdf[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น แก้ไข


พิกัดภูมิศาสตร์: 40°10′N 44°31′E / 40.167°N 44.517°E / 40.167; 44.517