ฟุตบอลทีมชาติเบลเยียม

ฟุตบอลทีมชาติเบลเยียม (ดัตช์: Belgisch nationaal voetbalelftal; ฝรั่งเศส: Équipe nationale belge de football; เยอรมัน: Belgische Fußballnationalmannschaft) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศเบลเยียม ภายใต้การดูแลของราชสมาคมฟุตบอลเบลเยียม ในฟุตบอลโลก เคยได้ที่ 3 ในฟุตบอลโลก 2018 และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป เคยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ในปี ค.ศ. 1980

เบลเยียม
Shirt badge/Association crest
ฉายา
  • De Rode Duivels
  • Les Diables rouges
  • Die Roten Teufel
  • (ปีศาจแดง)
สมาคมราชสมาคมฟุตบอลเบลเยียม (RBFA)
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนDomenico Tedesco
กัปตันเกฟิน เดอ เบรยเนอ [1]
ติดทีมชาติสูงสุดยัน เฟอร์โตงเงิน (157)[a]
ทำประตูสูงสุดโรเมลู ลูกากู (85)[a]
สนามเหย้าสนามกีฬาสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง
รหัสฟีฟ่าBEL
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 3 Steady (20 มิถุนายน 2024)[6]
อันดับสูงสุด1 (พฤศจิกายน ค.ศ. 2015 – มีนาคม ค.ศ. 2016, กันยายน ค.ศ. 2018 – มีนาคม ค.ศ. 2022[6])
อันดับต่ำสุด71 (มิถุนายน ค.ศ. 2007[6])
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 3–3 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส
(อุกล์ ประเทศเบลเยียม; 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1904)
ชนะสูงสุด
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 10–1 ซานมารีโน ธงชาติซานมารีโน
(บรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม; 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2001)
แพ้สูงสุด
แม่แบบ:Fbam 11–2 เบลเยียม ธงชาติเบลเยียม
(ลอนดอน ประเทศอังกฤษ; 17 เมษายน ค.ศ. 1909)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม14 (ครั้งแรกใน 1930)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 3 (2018)
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม7 (ครั้งแรกใน 1972)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1980)
ยูฟ่าเนชันส์ลีก
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2021)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (2021)

ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2015 ได้รับการจัดอันดับให้เป็นทีมฟุตบอลอันดับ 1 ของโลก จากการจัดอันดับของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ หรือฟีฟ่า นับเป็นทีมที่ได้อันดับ 1 โดยที่ไม่เคยได้แชมป์ในรายการใหญ่ ๆ ทั้งฟุตบอลโลกหรือฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปมาก่อน[7]

รายชื่อผู้เล่น

แก้

รายชื่อผู้เล่น 26 คนที่ถูกเรียกตัวในการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2022[8][9]

ข้อมูลการลงเล่นและการทำประตูนับถึงวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 หลังจากการพบกับ   อียิปต์[10][11]

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK ตีโบ กูร์ตัว 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1992 (อายุ 29 ปี) 83 0   เรอัลมาดริด
2 2DF โตบี อัลเดอร์เวเริลด์ 2 มีนาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 32 ปี) 107 5   ทอตนัมฮอตสเปอร์
3 2DF โตมัส เฟอร์มาเลิน 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985 (อายุ 35 ปี) 79 2   วิสเซล โคเบะ
4 2DF แดดริก บอยาตา 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 (อายุ 30 ปี) 22 0   แฮร์ทา เบเอ็สเซ
5 2DF ยัน เฟอร์โตงเงิน 24 เมษายน ค.ศ. 1987 (อายุ 34 ปี) 126 9   ไบฟีกา
6 3MF อักแซล วิตแซล 12 มกราคม ค.ศ. 1989 (อายุ 32 ปี) 110 10   โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
7 3MF เกฟิน เดอ เบรยเนอ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (อายุ 29 ปี) 80 21   แมนเชสเตอร์ซิตี
8 3MF ยูรี ตีเลอมันส์ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 (อายุ 24 ปี) 37 4   เลสเตอร์ซิตี
9 4FW โรเมลู ลูกากู 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 28 ปี) 91 59   อินแตร์นาซีโอนาเล
10 4FW เอแดน อาซาร์ (กัปตัน) 7 มกราคม ค.ศ. 1991 (อายุ 30 ปี) 106 42   เรอัลมาดริด
11 3MF ยานิก การ์รัสโก 4 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 27 ปี) 44 6   อัตเลติโกเดมาดริด
12 1GK ซีมง มีญอแล 6 มีนาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 33 ปี) 30 0   กลึบบรึคเคอ
13 1GK มัตส์ แซ็ลส์ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 (อายุ 29 ปี) 0 0   สทราซบูร์
14 4FW ดรีส แมร์เตินส์ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 (อายุ 34 ปี) 96 21   นาโปลี
15 2DF ตอมา เมอนีเย 12 กันยายน ค.ศ. 1991 (อายุ 29 ปี) 46 7   โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
16 3MF ตอร์กาน อาซาร์ 29 มีนาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 28 ปี) 33 5   โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
17 3MF ฮันส์ ฟานาเกิน 14 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (อายุ 28 ปี) 9 2   กลึบบรึคเคอ
18 2DF เจซัน เดอนาเยอร์ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1995 (อายุ 25 ปี) 23 1   ลียง
19 2DF เลอันเดอร์ แด็นโดงเกอร์ 15 เมษายน ค.ศ. 1995 (อายุ 26 ปี) 15 0   วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์
20 4FW คริสตีย็อง แบนเตเก 3 ธันวาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 30 ปี) 39 16   คริสตัลพาเลซ
21 2DF ตีมอตี กัสตาญ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1995 (อายุ 25 ปี) 13 2   เลสเตอร์ซิตี
22 3MF นาแซร์ ชาดลี 2 สิงหาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 31 ปี) 62 8   อิสตันบูลบาชักเชฮีร์
23 4FW มีชี บัตชัวยี 2 ตุลาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 27 ปี) 33 22   คริสตัลพาเลซ
24 4FW เลอันโดร โตรสซาร์ด 4 ธันวาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 26 ปี) 6 2   ไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน
25 4FW เฌเรมี โดกูว์ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 2002 (อายุ 19 ปี) 6 2   สตาดแรแน
26 3MF แด็นนิส ปราต 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1994 (อายุ 27 ปี) 10 1   เลสเตอร์ซิตี

หมายเหตุ

แก้
  1. 1.0 1.1 RBFA นับการแข่งขันและประตูต่อโรมาเนียในวันที่ 15 (ที่จริงคือ 14) พฤศจิกายน ค.ศ. 2012, ต่อลักเซมเบิร์กในวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 และต่อเช็กเกียในวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 2017 แต่ทางฟีฟ่าไม่ยอมรับอย่างเป็นทางการ – เนื่องจากการแข่งขันสองอันแรกมีตัวสำรองมากเกินกว่าที่กฎของเกมกำหนด[2][3][4] ส่วนอันที่สามเนื่องจากทางราชสมาคมฟุตบอลเบลเยียมและสมาคมฟุตบอลแห่งสาธารณรัฐเช็กส่งคำขอสำหรับการแข่งขันอย่างเป็นทางการช้าเกินกว่าที่กำหนด[5]

อ้างอิง

แก้
  1. "เดอ บรอยน์ ปลื้มรับปลอกแขนกัปตันต่อจากอาซาร์ ยันไม่มีความคิดลาทีมชาติ". มติชนออนไลน์. 22 March 2023. สืบค้นเมื่อ 22 March 2023.
  2. "Football MATCH: 14.11.2012 (Romania v Belgium)". EU Football. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2020. สืบค้นเมื่อ 17 November 2017.
  3. "Football MATCH: 26.05.2014 (Belgium v Luxembourg)". EU Football. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2020. สืบค้นเมื่อ 17 November 2017.
  4. "Rules & Governance – Law 3: The number of players". The FA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 October 2014. สืบค้นเมื่อ 25 October 2014.
  5. "Welles-nietesspel rond oefenmatch tegen Tsjechië: Daarom was het geen officiële wedstrijd" [Yes or no game about friendly against Czech Republic: this is why it was no official match] (ภาษาดัตช์). Sporza. 6 June 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 6 June 2017.
  6. 6.0 6.1 6.2 "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
  7. ""เบลเยียม" ประวัติศาสตร์ที่ 1โลก สดจากสนามแข่ง". ข่าวสด. November 10, 2015. สืบค้นเมื่อ November 14, 2015.
  8. "Roberto Martinez selects 26 devils for the World Cup". Royal Belgian Football Association. 10 November 2022. สืบค้นเมื่อ 11 November 2022.
  9. @BelRedDevils (November 10, 2022). "11,59 million Belgians. 26 Devils. 1 goal. 🏆 #DEVILTIME" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  10. "Wales-Belgium | UEFA Nations League 2023 | UEFA.com". UEFA.
  11. "Most Belgium Caps - EU-Football.info". eu-football.info.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้