ฟุตบอลโลก 2018 (อังกฤษ: 2018 FIFA World Cup; รัสเซีย: Чемпионат мира по футболу 2018) เป็นการแข่งขันกีฬาฟุตบอลโลก ที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) โดยประเทศรัสเซียเป็นเจ้าภาพ นับเป็นการจัดครั้งแรกของรัสเซียและยุโรปตะวันออก และเป็นครั้งแรกที่ประเทศเจ้าภาพคาบเกี่ยวระหว่างสองทวีป คือ ยุโรปกับเอเชีย โดยการประกาศประเทศเจ้าภาพอย่างเป็นทางการมีขึ้นในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ณ นครซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมกับการประกาศประเทศเจ้าภาพ ปี 2022

ฟุตบอลโลก 2018
Чемпионат мира по футболу 2018
Chempionat mira po futbolu FIFA 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพรัสเซีย
วันที่14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2018
ทีม32 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่12 (ใน 11 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
อันดับที่ 3ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม
อันดับที่ 4ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู169 (2.64 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม3,031,768 (47,371 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอังกฤษ แฮร์รี เคน (6 ประตู)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยมโครเอเชีย ลูคา มอดริช[1]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเบลเยียม ตีโบ กูร์ตัว[1]
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป[1]
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติสเปน สเปน[1][2]
2014
2022

คณะกรรมการจัดการแข่งขันของรัสเซียได้เตรียมการในการสร้างสนามฟุตบอลใหม่ถึง 9 แห่ง รวมกับสนามที่มีอยู่เดิม 7 แห่ง โดยมีสนามลุจนีกีเป็นสนามที่มีความจุมากที่สุด คือ 89,318 ที่นั่ง นอกจากนี้ สนามกีฬาโอลิมปิกโซชีที่สร้างเพื่อใช้ในพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 จะเป็นหนึ่งในสนามแข่งขันในฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วย

การคัดเลือกเจ้าภาพแก้ไข

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2018
(เสียงข้างมาก คือ 12 เสียง)
ประเทศ คะแนนเสียง
รอบ 1 รอบ 2
  รัสเซีย 9 13
 /  โปรตุเกส/สเปน 7 7
 /  เบลเยี่ยม/เนเธอร์แลนด์ 4 2
  อังกฤษ 2
  • ทีมที่เข้าร่วมอย่างเป็นทางการ

ทีมที่เข้าร่วมแก้ไข

รอบคัดเลือกแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก

การจับสลากแก้ไข

การจับสลากแบ่งกลุ่มรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2018 กำหนดจัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมสเตทเครมลินพาเลซ ภายในเขตเครมลิน กรุงมอสโก ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560[3]ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายทั้งหมดจะได้รับการจับสลาก โดยแบ่งเป็นแปดกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยมีทีมในโถจับสลากดังนี้ (ตัวเลขหลังชื่อประเทศคืออันดับฟีฟ่า ณ เดือนตุลาคม 2560)

โถที่ 1 โถที่ 2 โถที่ 3 โถที่ 4

  รัสเซีย (65) (เจ้าภาพ)
  เยอรมนี (1)
  บราซิล (2)
  โปรตุเกส (3)
  อาร์เจนตินา (4)
  เบลเยียม (5)
  โปแลนด์ (6)
  ฝรั่งเศส (7)

  สเปน (8)
  เปรู (10)
  สวิตเซอร์แลนด์ (11)
  อังกฤษ (12)
  โคลอมเบีย (13)
  เม็กซิโก (16)
  อุรุกวัย (17)
  โครเอเชีย (18)

  เดนมาร์ก (19)
  ไอซ์แลนด์ (21)
  คอสตาริกา (22)
  สวีเดน (25)
  ตูนิเซีย (28)
  อียิปต์ (30)
  เซเนกัล (32)
  อิหร่าน (34)

  เซอร์เบีย (38)
  ไนจีเรีย (41)
  ออสเตรเลีย (43)
  ญี่ปุ่น (44)
  โมร็อกโก (48)
  ปานามา (49)
  เกาหลีใต้ (62)
  ซาอุดีอาระเบีย (63)

ผู้เล่นแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 2018

แต่ละทีมต้องส่งรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้นในรอบแรก 30 คน จากนั้นส่งรายชื่อ 23 คนสุดท้ายจากรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้น (ต้องมีผู้รักษาประตู 3 คน) ในการแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ระหว่างวันที่ 17 มิถุนายน จนถึง 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2017 เป็นการเล่นประเดิมก่อนฟุตบอลโลก 2018 ทีมจะต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 23 คน (โดยต้องมีผู้เล่นตำแหน่งผู้รักษาประตู 3 คน) หากมีผู้เล่นที่ได้รับบาดเจ็บหรือเหตุผลอื่นที่ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมแข่งขันได้ สามารถที่จะเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้ภายใน 24 ชั่วโมง ก่อนที่จะแข่งขันนัดแรก ซึ่งไม่จำเป็นต้องอยู่ในรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้น[4]

สำหรับผู้เล่นเบื้องต้น 30 คน จะต้องมีเวลาเหลืออยู่ในช่วงระหว่างวันที่ 21 และ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 ยกเว้นผู้เล่นที่เกี่ยวข้องในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2018 ที่จะเล่นในวันที่ 26 พฤษภาคม[5]

ผู้ตัดสินแก้ไข

ในเดือนพฤศจิกายน 2560, รายชื่อของผู้ตัดสินที่ถูกเลือกเพื่อดูแลแต่ละนัดได้ถูกปล่อยออกมาแล้ว.[6]

สนามแข่งขันแก้ไข

มอสโก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก โซชี
สนามกีฬาลุจนีกี ออตครืยตีเย-อะเรนา
(สนามกีฬาสปาร์ตัค)
สนามกีฬาเครสตอฟสกี
(สนามกีฬาเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก)
สนามกีฬาโอลิมปิกฟิชต์
(สนามกีฬาฟิชต์)
ความจุ : 81,000 ที่นั่ง ความจุ : 45,360 ที่นั่ง ความจุ : 68,134 ที่นั่ง ความจุ : 47,659 ที่นั่ง
     
ซามารา คาซาน
ซามาราอะเรนา
(คอสมอสอะเรนา)
คาซานอะเรนา
ความจุ : 44,918 ที่นั่ง ความจุ : 45,379
   
รอสตอฟ-นา-โดนู วอลโกกราด
รอสตอฟอะเรนา วอลโกกราดอะเรนา
ความจุ : 45,000 ที่นั่ง ความจุ : 45,568 ที่นั่ง
 
นิจนีนอฟโกรอด ซารันสค์ เยคาเตรินบุร์ก คาลีนินกราด
สนามกีฬานิจนีนอฟโกรอด มอร์โดวียาอะเรนา สนามกีฬากลาง
(เยคาเตรินบุร์กอะเรนา)
สนามกีฬาคาลีนินกราด
ความจุ : 44,899 ที่นั่ง ความจุ : 44,442 ที่นั่ง ความจุ : 35,696 ที่นั่ง ความจุ : 35,212 ที่นั่ง
   

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สนามการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018

รอบแบ่งกลุ่มแก้ไข

เวลาทั้งหมดที่ระบุข้างล่างนี้เป็นเวลาท้องถิ่น[7]

กลุ่มเอแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มเอ
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อุรุกวัย 3 3 0 0 5 0 +5 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   รัสเซีย (H) 3 2 0 1 8 4 +4 6
3   ซาอุดีอาระเบีย 3 1 0 2 2 7 −5 3
4   อียิปต์ 3 0 0 3 2 6 −4 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.


อุรุกวัย  3–0  รัสเซีย
ซัวเรซ   10'
เชรืยเชฟ   23' (เข้าประตูตัวเอง)
กาบานิ   90'
รายงาน

กลุ่มบีแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มบี
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   สเปน 3 1 2 0 6 5 +1 5 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   โปรตุเกส 3 1 2 0 5 4 +1 5
3   อิหร่าน 3 1 1 1 2 2 0 4
4   โมร็อกโก 3 0 1 2 2 4 −2 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มซีแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มซี
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ฝรั่งเศส 3 2 1 0 3 1 +2 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   เดนมาร์ก 3 1 2 0 2 1 +1 5
3   เปรู 3 1 0 2 2 2 0 3
4   ออสเตรเลีย 3 0 1 2 2 5 −3 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มดีแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มดี
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   โครเอเชีย 3 3 0 0 7 1 +6 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   อาร์เจนตินา 3 1 1 1 3 5 −2 4
3   ไนจีเรีย 3 1 0 2 3 4 −1 3
4   ไอซ์แลนด์ 3 0 1 2 2 5 −3 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มอีแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มอี
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   บราซิล 3 2 1 0 5 1 +4 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 2 0 5 4 +1 5
3   เซอร์เบีย 3 1 0 2 2 4 −2 3
4   คอสตาริกา 3 0 1 2 2 5 −3 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มเอฟแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มเอฟ
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   สวีเดน 3 2 0 1 5 2 +3 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   เม็กซิโก 3 2 0 1 3 4 −1 6
3   เกาหลีใต้ 3 1 0 2 3 3 0 3
4   เยอรมนี 3 1 0 2 2 4 −2 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มจีแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มจี
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เบลเยียม 3 3 0 0 9 2 +7 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   อังกฤษ 3 2 0 1 8 3 +5 6
3   ตูนิเซีย 3 1 0 2 5 8 −3 3
4   ปานามา 3 0 0 3 2 11 −9 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มเอชแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 กลุ่มเอช
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   โคลอมเบีย 3 2 0 1 5 2 +3 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   ญี่ปุ่น 3 1 1 1 4 4 0 4[a]
3   เซเนกัล 3 1 1 1 4 4 0 4[a]
4   โปแลนด์ 3 1 0 2 2 5 −3 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 คะแนนแฟร์เพลย์: ญี่ปุ่น −4, เซเนกัล −6.


รอบแพ้คัดออกแก้ไข

ดูบทความหลักที่: ฟุตบอลโลก 2018 รอบแพ้คัดออก

สายการแข่งขันแก้ไข

 
รอบ 16 ทีมรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
30 มิถุนายน – โซชี
 
 
  อุรุกวัย2
 
6 กรกฎาคม – นิจนีนอฟโกรอด
 
  โปรตุเกส1
 
  อุรุกวัย0
 
30 มิถุนายน – คาซาน
 
  ฝรั่งเศส2
 
  ฝรั่งเศส4
 
10 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
  อาร์เจนตินา3
 
  ฝรั่งเศส1
 
2 กรกฎาคม – ซามารา
 
  เบลเยียม0
 
  บราซิล2
 
6 กรกฎาคม – คาซาน
 
  เม็กซิโก0
 
  บราซิล1
 
2 กรกฎาคม – รอสตอฟ-นา-โดนู
 
  เบลเยียม2
 
  เบลเยียม3
 
15 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี)
 
  ญี่ปุ่น2
 
  ฝรั่งเศส4
 
1 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี)
 
  โครเอเชีย2
 
  สเปน1 (3)
 
7 กรกฎาคม – โซชี
 
  รัสเซีย (ลูกโทษ)1 (4)
 
  รัสเซีย2 (3)
 
1 กรกฎาคม – นิจนีนอฟโกรอด
 
  โครเอเชีย (ลูกโทษ)2 (4)
 
  โครเอเชีย (ลูกโทษ)1 (3)
 
11 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี)
 
  เดนมาร์ก1 (2)
 
  โครเอเชีย (หลังต่อเวลาพิเศษ)2
 
3 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
  อังกฤษ1 อันดับที่ 3
 
  สวีเดน1
 
7 กรกฎาคม – ซามารา14 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
  สวิตเซอร์แลนด์0
 
  สวีเดน0  เบลเยียม2
 
3 กรกฎาคม – มอสโก (ออตครืยตีเย)
 
  อังกฤษ2   อังกฤษ0
 
  โคลอมเบีย1 (3)
 
 
  อังกฤษ (ลูกโทษ)1 (4)
 

รอบ 16 ทีมแก้ไข








รอบก่อนรองชนะเลิศแก้ไข




รอบรองชนะเลิศแก้ไข


นัดชิงอันดับ 3แก้ไข

รอบชิงชนะเลิศแก้ไข

สถิติแก้ไข

ข้อมูลเพิ่มเติม: สถิติในฟุตบอลโลก 2018

ผู้ทำประตูแก้ไข

การแข่งขันทั้งหมดมี 169 ประตูที่ทำได้ใน 64 นัด สำหรับค่าเฉลี่ย 2.64 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน

6 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู