ฟุตบอลทีมชาติไนจีเรีย
ฟุตบอลทีมชาติไนจีเรีย (อังกฤษ: The Nigeria national football team มีฉายาว่า Super Eagles) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย อยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลไนจีเรีย ( NFF ) มีผลงานระดับทวีปคือการคว้าแชมป์แอฟริกา คัพ ออฟ เนชันส์ ได้ 3 สมัย โดยหนล่าสุดคือการคว้าแชมป์เมื่อปี ค.ศ. 2013 ด้วยการเอาชนะทีมชาติบูร์กินา ฟาโซ ในรอบชิงชนะเลิศ ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ และยังเคยได้เหรียญทองในโอลิมปิกฤดูร้อน 1996 ที่สหรัฐอเมริกา[2]
ฉายา | Super Eagles อินทรีมรกต (ฉายาในภาษาไทย) | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลไนจีเรีย (NFF) | |||||||||||
สมาพันธ์ย่อย | สหภาพฟุตบอลแอฟริกันตะวันตก (WAFU) | |||||||||||
สมาพันธ์ | สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) | |||||||||||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | แกร์นอต โรห์ร | |||||||||||
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน | อีเคชุควู อักเปยี | |||||||||||
กัปตัน | จอห์น โอบี มิเกล | |||||||||||
ติดทีมชาติสูงสุด | โจเซฟ โยโบ (101) วินเซนต์ เอ็นเยียมา (101) | |||||||||||
ทำประตูสูงสุด | ราชิดี เยคินี (37) | |||||||||||
สนามเหย้า | สนามกีฬาอาบูจา | |||||||||||
รหัสฟีฟ่า | NGA | |||||||||||
| ||||||||||||
อันดับฟีฟ่า | ||||||||||||
อันดับปัจจุบัน | 38 8 (20 มิถุนายน 2024)[1] | |||||||||||
อันดับสูงสุด | 5 (เมษายน 1994) | |||||||||||
อันดับต่ำสุด | 82 (พฤศจิกายน 1999) | |||||||||||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | ||||||||||||
ไนจีเรีย 2 - 0 เซียร์รา ลีโอน (ฟรีทาวน์, เซียร์รา ลีโอน; 8 ตุลาคม 1949) | ||||||||||||
ชนะสูงสุด | ||||||||||||
ไนจีเรีย 10 - 1 ดาโฮมีย์ (ลากอส, ไนจีเรีย; 28 พฤศจิกายน 1959) | ||||||||||||
แพ้สูงสุด | ||||||||||||
โกลด์ โคสต์ 7 - 0 ไนจีเรีย (อักกรา, กานา; 1 มิถุนายน 1955) | ||||||||||||
ฟุตบอลโลก | ||||||||||||
เข้าร่วม | 6 (ครั้งแรกใน 1994) | |||||||||||
ผลงานดีที่สุด | 16 ทีมสุดท้าย (1994, 1998, 2014) | |||||||||||
แอฟริกันเนชันส์คัพ | ||||||||||||
เข้าร่วม | 19 (ครั้งแรกใน 1963) | |||||||||||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ, 1980, 1994 และ 2013 | |||||||||||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | ||||||||||||
เข้าร่วม | 2 (ครั้งแรกใน 1995) | |||||||||||
ผลงานดีที่สุด | ที่ 4, 1995 | |||||||||||
เกียรติยศ
|
จากข้อมูลอันดับโลกฟีฟ่า ทีมชาติไนจีเรียเคยติดอันดับสูงสุดที่อันดับ 5 เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1994 ซึ่งเป็นอันดับโลกที่สูงที่สุดที่ทีมชาติจากทวีปแอฟริกาเคยทำได้
อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
- ↑ "ฟุตบอลทีมชาติไนจีเรีย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2010-06-17.