ฟุตบอลทีมชาติอียิปต์
ฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ (อาหรับ: مُنتخب مَــصـر, Montakhab Masr) ฉายา เดอะฟาโรห์ เป็นทีมฟุตบอลชายตัวแทนของประเทศอียิปต์ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลอียิปต์ (EFA) ซึ่งก่อตั้งในปี ค.ศ. 1921 และเป็นผู้ควบคุมฟุตบอลในประเทศอียิปต์ ทีมชาติอียิปต์เคยใช้สนามกีฬานานาชาติไคโรเป็นสนามเหย้า แต่ในปี ค.ศ. 2012 ได้ย้ายไปเล่นที่สนามกีฬา Borg El Arab ในอเล็กซานเดรีย ผู้จัดการทีมในปัจจุบันคือ Héctor Cúper
![]() | |||
ฉายา | เดอะฟาโรห์ (อาหรับอียิปต์: الفراعنة El Phara'ena) มัมมี่ (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลอียิปต์ | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหพันธ์ฟุตบอลสหภาพแอฟริกาเหนือ (UNAF) | ||
สมาพันธ์ | สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Héctor Cúper | ||
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน | Osama Nabih | ||
กัปตัน | Essam El Hadary | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | Ahmed Hassan (184) | ||
ทำประตูสูงสุด | Hossam Hassan (70) | ||
สนามเหย้า | Borg El Arab Stadium | ||
รหัสฟีฟ่า | EGY | ||
อันดับฟีฟ่า | 44 ![]() | ||
อันดับฟีฟ่าสูงสุด | 9 (กรกฎาคม-กันยายน ค.ศ. 2010, ธันวาคม ค.ศ. 2010) | ||
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด | 75 (มีนาคม ค.ศ. 2013) | ||
อันดับอีแอลโอ | 52 (20 มีนาคม ค.ศ. 2018) | ||
อันดับอีแอลโอสูงสุด | 6 (สิงหาคม ค.ศ. 2010) | ||
อันดับอีแอลโอต่ำสุด | 62 (9 มีนาคม ค.ศ. 1986, 12 มิถุนายน ค.ศ. 1997) | ||
| |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (เกนต์, เบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (จาการ์ตา, อินโดนีเซีย; 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963)[1] | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์; 10 มิถุนายน ค.ศ. 1928) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 1934) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 13, 1934 | ||
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ | |||
เข้าร่วม | 23 (ครั้งแรกใน 1957) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1957, 1959, 1986, 1998, 2006, 2008 และ 2010) | ||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | |||
เข้าร่วม | 2 (ครั้งแรกใน 1999) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบแบ่งกลุ่ม (1999 และ 2009) |
อียิปต์เป็นทีมชาติที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยคว้าแชมป์แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ถึง 7 สมัย ในปี 1957, 1959 (เจ้าภาพ), 1986, 1998, 2006, 2008 และ 2010 อันดับโลกฟีฟ่าที่สูงที่สุดคืออันดับที่ 9 ทำให้เป็นหนึ่งในสามทีมชาติของแอฟริกาที่เคยติด 10 อันดับแรกของฟีฟ่า อียิปต์ปรากฏตัวในฟุตบอลโลก 2 ครั้ง ในปี 1934 และ 1990) และเป็นทีมแรกในแอฟริกาและตะวันออกกลางที่ผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก
อียิปต์ผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายของแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2017 และจบอันดับรองชนะเลิศ หลังจากแพ้นัดชิงชนะเลิศให้แก่แคเมอรูน การแข่งขันครั้งนี้ ทำให้อันดับโลกฟีฟ่าขยับไปถึงอันดับที่ 19 ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2017
วันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 2017 อียิปต์ผ่านรอบคัดเลือกและได้ไปเล่นรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2018 เป็นครั้งแรกในรอบ 28 ปี และเป็นครั้งที่สามที่จะปรากฏตัวในการแข่งขันรายการนี้
สถิติแก้ไข
- ณ วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2018
ผู้เล่นตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นที่ยังคงเล่นให้กับทีมชาติในปัจจุบัน
ลงเล่นมากที่สุดแก้ไข
# | ผู้เล่น | ลงเล่น (นัด) | ประตู | ช่วงปี (ค.ศ.) |
---|---|---|---|---|
1 | Ahmed Hassan | 184 | 33 | 1995–2012 |
2 | Hossam Hassan | 169 | 69 | 1985–2006 |
3 | อิศอม อัลฮะเฎาะรี | 156 | 0 | 1996– |
4 | Ibrahim Hassan | 131 | 14 | 1988–2002 |
5 | อะห์มัด ฟัตฮี | 124 | 3 | 2002– |
6 | Hany Ramzy | 123 | 3 | 1988–2003 |
7 | Wael Gomaa | 114 | 1 | 2001–2013 |
8 | Ahmed El Kass | 112 | 25 | 1987–1997 |
Abdel Zaher El Sakka | 112 | 4 | 1997–2010 | |
10 | Rabie Yassin | 109 | 1 | 1982–1991 |
ทำประตูสูงสุดแก้ไข
# | ผู้เล่น | ประตู | ลงเล่น (นัด) | ประตูต่อนัดโดยเฉลี่ย | ช่วงปี (ค.ศ.) |
---|---|---|---|---|---|
1 | Hossam Hassan | 69 | 169 | 0.41 | 1985–2006 |
2 | Hassan El Shazly | 42 | 62 | 0.68 | 1961–1975 |
3 | Mohamed Abou Trika | 38 | 100 | 0.38 | 2001–2013 |
4 | โมฮัมเหม็ด ซาลาห์ | 33 | 57 | 0.58 | 2011– |
5 | Ahmed Hassan | 33 | 184 | 0.18 | 1995–2012 |
6 | Amr Zaki | 30 | 63 | 0.48 | 2004–2013 |
7 | Emad Moteab | 28 | 70 | 0.40 | 2004–2015 |
8 | Ahmed El Kass | 25 | 112 | 0.22 | 1987–1997 |
9 | Mahmoud El Khatib | 24 | 54 | 0.44 | 1974–1986 |
10 | Gamal Abdel Hamid | 24 | 79 | 0.30 | 1979–1993 |
ผู้เล่นชุดปัจจุบันแก้ไข
ข้อมูล ณ วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2018
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | GK | อิศอม อัลฮะเฎาะรี (Captain) | 15 มกราคม ค.ศ. 1973 (48 ปี) | 156 | 0 | Al Taawoun |
16 | GK | อะเม็ด อัลเสะเนาะวี | 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 (29 ปี) | 29 | 0 | Zamalek |
23 | GK | มุฮัมมัด อัลเสะเนาะวี | 18 ธันวาคม ค.ศ. 1988 (32 ปี) | 1 | 0 | Al Ahly |
28 | GK | มุฮัมมัด อะวัฎ | 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1992 (28 ปี) | 3 | 0 | Ismaily |
2 | DF | อะลี กาเบราะ | 10 มกราคม ค.ศ. 1989 (32 ปี) | 20 | 1 | West Bromwich Albion |
3 | DF | อะห์มัด อัลมุฮัมมะดี | 9 กันยายน ค.ศ. 1987 (33 ปี) | 76 | 2 | Aston Villa |
4 | DF | โอมะรอ กะเบร์ | 30 มกราคม ค.ศ. 1992 (29 ปี) | 23 | 0 | Los Angeles |
6 | DF | อะเม็ด ฮีกะศี | 25 มกราคม ค.ศ. 1991 (30 ปี) | 43 | 1 | West Bromwich Albion |
7 | DF | อะห์มัด ฟัตฮี (Vice-captain) | 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 (36 ปี) | 124 | 3 | Al Ahly |
13 | DF | มุฮัมมัด อับดุชชาฟี | 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1985 (35 ปี) | 49 | 1 | Al Fateh |
20 | DF | ซะอัด ซอมีเราะ | 1 เมษายน ค.ศ. 1989 (32 ปี) | 10 | 0 | Al Ahly |
27 | DF | อัยมาน อัชราฟอ | 9 เมษายน ค.ศ. 1991 (30 ปี) | 4 | 0 | Al Ahly |
5 | MF | ซามอ มอระศี | 10 กันยายน ค.ศ. 1991 (29 ปี) | 3 | 0 | Wigan Athletic |
8 | MF | ทะเรค ฮะเหม็ด | 24 ตุลาคม ค.ศ. 1988 (32 ปี) | 19 | 0 | Zamalek |
11 | MF | คอห์ระบะ | 13 เมษายน ค.ศ. 1994 (27 ปี) | 17 | 3 | Al Ittihad |
12 | MF | มุอะเมน ศอกะริอะ | 12 เมษายน ค.ศ. 1988 (33 ปี) | 12 | 0 | Al Ahli |
14 | MF | เราะมะฎอน ศุบฮี | 23 มกราคม ค.ศ. 1997 (24 ปี) | 21 | 1 | Stoke City |
17 | MF | โมฮัมหมัด เอลเนนี | 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1992 (28 ปี) | 60 | 5 | Arsenal |
18 | MF | ชีกาบาลา | 5 มีนาคม ค.ศ. 1986 (35 ปี) | 28 | 2 | Al Raed |
19 | MF | อับดอเลาะห์ ซะอีด | 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1985 (35 ปี) | 34 | 6 | KuPS
{{nat fs g player|no=21|pos=MF|name=[[มะห์มูด หัศซอน]|age=1 ตุลาคม ค.ศ. 1994 (26 ปี)|caps=22|goals=2|club=Kasımpaşa|clubnat=TUR}} |
22 | MF | อะมอร์ วอระฎอ | 13 กันยายน ค.ศ. 1993 (27 ปี) | 14 | 0 | Atromitos
{{nat fs g player|no=24|pos=MF|name=[[มุฮัมมัด มักฎี]|age=1 มกราคม ค.ศ. 1996 (25 ปี)|caps=1|goals=0|club=ENPPI|clubnat=EGY}} |
25 | MF | ฮัสซอม ออชูรอ | 9 มีนาคม ค.ศ. 1986 (35 ปี) | 14 | 0 | Al Ahly |
26 | MF | ฮุสซีน อัลชอหัต | 6 กันยายน ค.ศ. 1991 (29 ปี) | 1 | 0 | Al Ain |
9 | FW | โกกา | 5 มีนาคม ค.ศ. 1993 (28 ปี) | 15 | 5 | Braga |
10 | FW | มุฮัมมัด เศาะลาห์ | 15 มิถุนายน ค.ศ. 1992 (28 ปี) | 57 | 33 | Liverpool |
15 | FW | มอระวอน มูหะเศน | 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 (32 ปี) | 22 | 4 | Al Ahly |
อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียงแก้ไข
เกียรติประวัติแก้ไข
แอฟริกาแก้ไข
- ชนะเลิศ (7): 1957, 1959, 1986, 1998, 2006, 2008, 2010 (ชนะเลิศมากที่สุด)
- รองชนะเลิศ (2): 1962, 2017
- อันดับที่สาม (3): 1963, 1970, 1974
- อันดับที่สี่ (3): 1976, 1980, 1984
- ไนล์เบซินทัวร์นาเมนต์
- ชนะเลิศ (1): 2011
อาหรับแก้ไข
อื่น ๆแก้ไข
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ http://www.superkoora.com/ar/match/55084/stats[ลิงก์เสีย]
- ↑ 2.0 2.1 Hazem Adel. "Egypt – Record International Players". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 2013-09-13.
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ |