ทีมฟุตบอล (อังกฤษ: football team) เป็นชื่อที่เรียกกลุ่มของผู้เล่นที่เลือกมาเล่นร่วมกันในการแข่งขันฟุตบอล แต่ละทีมสามารถเลือกผู้เล่นเพื่อแข่งกับทีมตรงข้าม อาจเป็นตัวแทนของสโมสรฟุตบอล กลุ่ม รัฐ หรือชาติ ทีมรวมดาว หรือแม้แต่ทีมสมมติ (อย่างเช่น ดรีมทีมหรือทีมแห่งศตวรรษ) ที่เป็นทีมที่อาจไม่เคยลงแข่งขันจริง

ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลเชลซีในชุดปี ค.ศ. 1905 ถ่ายร่วมกับทีมงาน

ผู้เล่นจะได้รับเลือกให้เล่นในตำแหน่งต่าง ๆ ของทีม ในบางกรณีการเรียกว่า ทีมฟุตบอล ในบางครั้งอาจจำกัดเฉพาะผู้ที่ลงแข่งในสนาม และไม่รวมผู้เล่นที่เป็นผู้เล่นเปลี่ยนตัวหรือผู้เล่นฉุกเฉิน ส่วนคำว่า "Football squad" อาจจะใช้รวมถึงทีมสนับสนุนและผู้เล่นสำรองด้วย

สโมสรฟุตบอล นั้นเป็นองค์กรหรือกลุ่มคนที่มี ประธาน คณะกรรมการและมีกฎการรับผิดชอบเพื่อให้มั่นใจถึงความมีตัวตนของทีม ที่จะมีการเลือกหรือการชิงตำแหน่ง สโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดเกิดขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 19

สถิติสโมสรฟุตบอลระดับโลก

แก้

สถิติสโมสรฟุตบอลไทย

แก้

ดาวทีมฟุตบอล

แก้

ดาวทีมชาติ

แก้
ทีมชาติ รายการ ครั้งแรก จำนวนดาว ตรา
ฟุตบอลชาย
  บราซิล      ฟุตบอลโลก 1958 5  
  อิตาลี     ฟุตบอลโลก 1934 4  
  เยอรมนี     ฟุตบอลโลก 1954 4  
  อุรุกวัย     ฟุตบอลโลก และ
โอลิมปิก
1930 4 (2+2)  
  อาร์เจนตินา    ฟุตบอลโลก 1978 3  
  ฝรั่งเศส   ฟุตบอลโลก 1998 2  
  อังกฤษ  ฟุตบอลโลก 1966 1  
  สเปน  ฟุตบอลโลก 2010 1  
ฟุตบอลหญิง
  สหรัฐ     ฟุตบอลโลกหญิง 1991 4  
  เยอรมนี   ฟุตบอลโลกหญิง 2003 2  
  นอร์เวย์  ฟุตบอลโลกหญิง 1995 1
  ญี่ปุ่น  ฟุตบอลโลกหญิง 2011 1
  สเปน  ฟุตบอลโลกหญิง 2023 1  

ดาวทีมสโมสรลีกสูงสุด

แก้

ทีมสโมสรฟุตบอลแบ่งตามผู้เล่นชุดปัจจุบัน

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "สโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดในโลก". ผู้จัดการออนไลน์. 25 May 2005. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.[ลิงก์เสีย]
  2. "แฉทักษิณ ทำแมนซิตี้เกือบเจ๊ง!!". เอ็มไทยดอตคอม. 29 April 2009. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.[ลิงก์เสีย]
  3. "สื่ออังกฤษทำสกู๊ปยกเจ้าของไทยทำจิ้งจอกผงาด". สยามกีฬา. 13 February 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-21. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
  4. ""เดชพล จันศิริ" บอสใหม่ "เชฟฟิลด์ เวนส์เดย์" ลูกชาย...คือแรงบันดาลใจ". ประชาชาติธุรกิจ. 12 February 2015. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
  5. "รู้จัก 'สัมฤทธิ์ บัณฑิตกฤษดา' อีกคนไทย ผู้เขย่าลูกหนังผู้ดี". ไทยรัฐ. 18 June 2014. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
  6. "คิงเพาเวอร์ตกลงซื้อทีมสโมสรฟุตบอล OHL ของเบลเยียม". ไทยรัฐ. 17 May 2017. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
  7. ""บิ๊กเสือ"สัมฤทธิ์ เทกโอเวอร์"ออกซฟอร์ด" นั่งแท่นประธานใหญ่". สยามสปอร์ต. 23 Feb 2018. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
  8. "ตะลึง!! เสี่ยไพโรจน์ นักธุรกิจไทย บรรลุเทคโอเวอร์ทีมดังยุโรป". ไทยรัฐ. 6 May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
  9. ""ไพโรจน์ เปี่ยมพงษ์สานต์" เปิดตัวเทคโอเวอร์สโมสรมุสครง ในลีกเบลเยียม". ข่าวสด. 9 May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
  10. "รู้จัก "บี เตชะอุบล" จากคันทรี่ กรุ๊ป ถึง เอซี มิลาน ผู้หาญกล้าหอบเงินหมื่นล้านซื้อสโมสรดังแห่งอิตาลี". ผู้จัดการออนไลน์. 17 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-05. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้