ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2009

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2009 (อังกฤษ: 2009 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ ครั้งที่ 8 โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน – 28 มิถุนายน 2009 ที่แอฟริกาใต้ ก่อนที่จะมีการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ในปีถัดไป

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2009
FIFA Confederations Cup South Africa 2009
FIFA Sokker-Konfederasiebeker in 2009
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพแอฟริกาใต้
วันที่14 มิถุนายน – 28 มิถุนายน 2009
ทีม(จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 4 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
อันดับที่ 3ธงชาติสเปน สเปน
อันดับที่ 4ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู44 (2.75 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม584,894 (36,556 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล ลูอีส ฟาเบียนู (5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมบราซิล กาก้า
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมสหรัฐ ทิม ฮาวเวิร์ด
2005
2013

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

แก้
 
แผนที่ทีมที่ผ่านเข้ารอบฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2009
ทีมชาติ สมาพันธ์ วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ ครั้งที่เข้ารอบ
  แอฟริกาใต้ ซีเอเอฟ เจ้าภาพ ฟุตบอลโลก 2010 15 พฤษภาคม 2004 2
  อิตาลี ยูฟ่า ชนะเลิศ ฟุตบอลโลก 2006 9 กรกฎาคม 2006 1
  สหรัฐ คอนคาแคฟ ชนะเลิศ คอนคาเคฟโกลด์คัพ 2007 24 มิถุนายน 2007 4
  บราซิล คอนเมบอล ชนะเลิศ โกปาอาเมริกา 2007 15 กรกฎาคม 2007 6
  อิรัก เอเอฟซี ชนะเลิศ เอเชียนคัพ 2007 29 กรกฎาคม 2007 1
  อียิปต์ ซีเอเอฟ ชนะเลิศ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2008 10 กุมภาพันธ์ 2008 2
  สเปน ยูฟ่า ชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 29 มิถุนายน 2008 1
  นิวซีแลนด์ โอเชียเนีย โอเอฟซีเนชันส์คัพ 2008 19 พฤศจิกายน 2008 3

สนามแข่งขัน

แก้
โจฮันเนสเบิร์ก พริทอเรีย บลูมฟอนเทน รุสเทนเบิร์ก
สนามกีฬาเอลลิสปาร์ก ลอฟตัสเวอร์สเฟลด์ สนามกีฬาฟรีสเตต โรย่า บาโฟเคงส์ สเตเดียม
ความจุ: 62,567 ความจุ: 50,000 ความจุ: 48,000 ความจุ: 42,000
       

การแข่งขัน

แก้

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

กลุ่ม เอ

แก้
ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
  สเปน 3 3 0 0 8 0 +8 9
  แอฟริกาใต้ 3 1 1 1 2 2 0 4
  อิรัก 3 0 2 1 0 1 −1 2
  นิวซีแลนด์ 3 0 1 2 0 7 −7 1





กลุ่ม บี

แก้
ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
  บราซิล 3 3 0 0 10 3 +7 9
  สหรัฐ 3 1 0 2 4 6 −2 3
  อิตาลี 3 1 0 2 3 5 −2 3
  อียิปต์ 3 1 0 2 4 7 −3 3





รอบแพ้คัดออก

แก้

รอบรองชนะเลิศ

แก้
  Semi-finals Final
24 มิถุนายน – บลูมฟอนเทน
   สเปน  0  
   สหรัฐ  2  
 
28 มิถุนายน – โจฮันเนสเบิร์ก
       สหรัฐ  2
     บราซิล  3
Third place
25 มิถุนายน – โจฮันเนสเบิร์ก 28 มิถุนายน – รุสเทนเบิร์ก
   บราซิล  1    สเปน (ต่อเวลาพิเศษ)  3
   แอฟริกาใต้  0      แอฟริกาใต้  2

รอบรองชนะเลิศ

แก้

นัดชิงที่ 3

แก้

นัดชิงชนะเลิศ

แก้

รางวัล

แก้
รางวัลทีมที่เล่นขาวสะอาด บอลทองคำ รองเท้าทองคำ ถุงมือทองคำ
  บราซิล   กาก้า   ลูอีส ฟาเบียนู   ทิม ฮาวเวิร์ด
บอลเงิน รองเท้าเงิน
  ลูอีส ฟาเบียนู   เฟร์นันโด ตอร์เรส
บอลบรอนซ์ รองเท้าบรอนซ์
  คลินต์ เดมป์ซีย์   ดาบิด บียา
การจัดอันดับ 11 ผู้เล่นตัวจริงยอดเยี่ยม[1]
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหน้า

  ทิม ฮาวเวิร์ด

  ชูอัน กัปเดบีลา
  การ์เลส ปูยอล
  ลูซีอู
  ไมกง โดกลัส ซีเซนังดู

  กาก้า
  มูฮามัด อบัวริก้า
  คลินต์ เดมป์ซีย์

  ดาบิด บียา
  เฟร์นันโด ตอร์เรส
  ลูอีส ฟาเบียนู

ผู้ทำประตู

แก้
5 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
ทำเข้าประตูตัวเอง

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Users pick Top 11". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 30 June 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-14. สืบค้นเมื่อ 30 June 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้