ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2013
ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2013 (อังกฤษ: 2013 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ จัดโดยฟีฟ่า ในปี พ.ศ. 2556 ที่ประเทศบราซิล ก่อนที่จะมีการแข่งขันฟุตบอลโลกในปีถัดไป[2] โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15 – 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556
Copa das Confederações da FIFA Brasil 2013[1] | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | บราซิล |
วันที่ | 15 – 30 มิถุนายน |
ทีม | 8 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 6 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | บราซิล (สมัยที่ 4) |
รองชนะเลิศ | สเปน |
อันดับที่ 3 | อิตาลี |
อันดับที่ 4 | อุรุกวัย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 16 |
จำนวนประตู | 68 (4.25 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 804,659 (50,291 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | เฟร์นันโด ตอร์เรส เฟรด (5 ประตู) |
ช่วงที่จะมีการแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพนั้นบางส่วนจะตรงกับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย โดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียจึงขอให้ฟีฟ่าเลื่อนวันการแข่งขัน[3] อย่างไรก็ตาม สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียได้ตัดสินใจที่จะปรับเปลี่ยนวันแข่งขันให้ทีมชาติญี่ปุ่นซึ่งเป็นตัวแทนของสมาพันธ์ในคอนเฟเดอเรชันส์คัพเท่านั้น[4]
ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
แก้ทีมชาติ | สมาพันธ์ | วิธีการเข้ารอบ | วันที่เข้ารอบ | ครั้งที่เข้ารอบ |
---|---|---|---|---|
บราซิล | คอนเมบอล | เจ้าภาพฟุตบอลโลก 2014 | 30 ตุลาคม พ.ศ. 2550 | 7 |
สเปน | ยูฟ่า | ชนะเลิศ ฟุตบอลโลก 2010 | 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 | 2 |
ญี่ปุ่น | เอเอฟซี | ชนะเลิศ เอเอฟซีเอเชียนคัพ 2011 | 29 มกราคม พ.ศ. 2554 | 5 |
เม็กซิโก | คอนคาเคฟ | ชนะเลิศ คอนคาเคฟโกลด์คัพ 2011 | 25 มิถุนายน พ.ศ. 2554 | 6 |
อุรุกวัย | คอนเมบอล | ชนะเลิศ โกปาอเมริกา 2011 | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 | 2 |
ตาฮีตี | โอเอฟซี | ชนะเลิศ โอเอฟซีเนชันส์คัพ 2012 | 10 มิถุนายน พ.ศ. 2555 | 1 |
อิตาลี | ยูฟ่า | รองชนะเลิศ ยูโร 20121 | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2555 | 2 |
ไนจีเรีย | ซีเอเอฟ | ชนะเลิศ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2013 | 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 | 2 |
1อิตาลีได้เข้ารอบเนื่องจากสเปนเป็นผู้ชนะเลิศทั้งฟุตบอลโลก 2010 และยูโร 2012
สถานที่แข่งขัน
แก้จะใช้สนามแข่งขัน 6 สนามใน 6 เมือง[5]
เบโลโอรีซอนตี | เรซีฟี | |
---|---|---|
สนามกีฬาผู้ว่าการมากัลไยส์ ปิงตู (มีเนย์เรา) ความจุ : 62,547 คน (ปรับปรุงใหม่) |
อาเรนาเปร์นัมบูกู ความจุ : 44,248 คน (สนามใหม่) | |
บราซีเลีย | รีโอเดจาเนโร | |
สนามกีฬาแห่งชาติบราซีเลีย (มาเน การิงชา) ความจุ : 70,064 คน (สร้างใหม่) |
สนามกีฬานักหนังสือพิมพ์มารีอู ฟิลยู (มารากานัง) ความจุ : 76,804 คน (ปรับปรุงใหม่) [6] | |
ฟอร์ตาเลซา | ซัลวาดอร์ | |
สนามกีฬาปลาซีดู อาเดรัลดู กัสเตลู (กัสเตเลา) ความจุ : 64,846 คน (ปรับปรุงใหม่) |
ศูนย์กีฬาศาสตราจารย์โอกตาวีอู มังกาเบย์รา (อาเรนาฟงชีนอวา) ความจุ : 56,500 คน (สร้างใหม่) |
การจับสลากแบ่งกลุ่ม
แก้การจัดสลากแบ่งกลุ่มถูกจัดขึ้นที่ปาลาซีอูดัสกงเวงซอยส์ (Palácio das Convenções) ในศูนย์การประชุมอัญเญงบี (Anhembi Convention Center) เมืองเซาเปาลู เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555[7][8]
ทีมชาติที่มาจากสมาพันธ์ฟุตบอลเดียวกันจะไม่ได้ถูกจัดในกลุ่มเดียวกัน ดังนั้น หนึ่งทีมจากยูฟ่าจะอยู่กลุ่มเดียวกับอีหหนึ่งทีมจากคอนเมบอล เมื่อบราซิลและสเปนถูกจัดให้เป็นเอ 1 และบี 1 โดยอัตโนมัติไปแล้ว อิตาลีและอุรุกวัยจึงถูกจัดลงในกลุ่มเอและกลุ่มบีตามลำดับ[9]
ผู้ตัดสิน
แก้ผู้ตัดสินทั้ง 10 คนถูกประกาศ และยืนยันอย่างเป็นทางการจากฟีฟ่า เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2556[10][11]
สมาพันธ์ | ผู้ตัดสิน | ผู้ช่วยผู้ตัดสิน |
---|---|---|
เอเอฟซี | อิวอิชิ นิชิมุระ | โทะรุ ซะกะระ โทะชิอิวงิ นะกิ |
รัฟชัน อีร์มาตอฟ | อับดูฮามีดุลโล ระซูลอฟ บาฮาดืยร์ คอชคารอฟ | |
ซีเอเอฟ | ดฌาเมล ไฮมูดี | อับเดลฮัก เอทชีอาลี เรดวน อาชิก |
คอนคาแคฟ | โคเอล อากูอีลาร์ | วิลเลียม ตอร์เรส ควน ซุมบา |
คอนเมโบล | ดีเอโก อาบัล | เอร์นัน ไมดานา ควน ปาโบล เบลัตติ |
เอนรีเก ออสเซส | เซร์คีโอ โรมัน การ์โลส อัสโตรซา | |
ยูฟ่า | ฮาวเวิร์ด เวบบ์ | ไมเคิล มัลลาร์คีย์ ดาร์เรน แคนน์ |
เฟลิกซ์ บรึช | ซเทฟัน ลุพพ์ มาร์ค บอร์ช | |
บเยิร์น ไคเพิร์ส | ซันเดอร์ ฟาน รูเคิล เอร์วิน เซย์นสตรา | |
เปดรู ปรูเองซา | เบร์ตีนู มีรังดา ตีอากู ตรีกู |
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้ตารางการแข่งขันได้รับการเปิดเผยในเมืองรีโอเดจาเนโร เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2555[12][13]
ทีมชนะเลิศและรองชนะเลิศในแต่ละกลุ่ม จะเข้ารอบรองชนะเลิศต่อไป[14]
เวลาที่ใช้ในการแข่งขันเป็นเขตเวลาบราซีเลีย (UTC –3)
กลุ่มเอ
แก้ทีมชาติ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | +/- | คะแนน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
บราซิล | 3 | 3 | 0 | 0 | 9 | 2 | +7 | 9 |
อิตาลี | 3 | 2 | 0 | 1 | 8 | 8 | 0 | 6 |
เม็กซิโก | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | –2 | 3 |
ญี่ปุ่น | 3 | 0 | 0 | 3 | 4 | 9 | –5 | 0 |
อิตาลี | 4 – 3 | ญี่ปุ่น |
---|---|---|
เด รอสซี 41' อูชิดะ 50' (o.g.) บาโลเตลลี 52' (ลูกโทษ) โจวินโก 86' |
รายงาน | ฮอนดะ 21' (ลูกโทษ) คากาวะ 33' โอกาซากิ 69' |
ญี่ปุ่น | 1 – 2 | เม็กซิโก |
---|---|---|
โอกาซากิ 86' | รายงาน | เอร์นันเดซ 54', 66' |
กลุ่มบี
แก้ทีมชาติ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | +/- | คะแนน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สเปน | 3 | 3 | 0 | 0 | 15 | 1 | +14 | 9 |
อุรุกวัย | 3 | 2 | 0 | 1 | 11 | 3 | +8 | 6 |
ไนจีเรีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 7 | 6 | +1 | 3 |
ตาฮีตี | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 24 | –23 | 0 |
ตาฮีตี | 1 – 6 | ไนจีเรีย |
---|---|---|
จ. เตฮู 54' | รายงาน | วัลล่าร์ 5' (o.g.) โอดูอามาดี 10', 26', 76' จ. เตฮู 69' (o.g.) อีชายยิเล่ 80' |
อุรุกวัย | 8 – 0 | ตาฮีตี |
---|---|---|
เอร์นันเดซ 2', 24', 45+1', 67' (ลูกโทษ) เปเรซ 27' โลเดยโร 61' ซัวเรซ 82', 90' |
รายงาน |
รอบแพ้คัดออก
แก้Semi-finals | Final | ||||||
26 มิถุนายน 2556 – เบโลโอรีซอนตี | |||||||
บราซิล | 2 | ||||||
อุรุกวัย | 1 | ||||||
30 มิถุนายน 2556 – มารากานัง|รีโอเดจาเนโร | |||||||
บราซิล | 3 | ||||||
สเปน | 0 | ||||||
Third place | |||||||
27 มิถุนายน 2556 – กัสเตเลา|ฟอร์ตาเลซา | 30 มิถุนายน 2556 – อาเรนาฟงชีนอวา|ซัลวาดอร์ | ||||||
สเปน (pen.) | 0 (7) | อุรุกวัย | 2 (2) | ||||
อิตาลี | 0 (6) | อิตาลี (pen.) | 2 (3) |
รอบรองชนะเลิศ
แก้สเปน | 0 – 0 (ต่อเวลาพิเศษ) | อิตาลี |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
ชาบี อีเนียสตา ปิเก ราโมส มาตา บุสเกตส์ นาบัส |
7 – 6 | แคนเดรวา อากวีลานี เด รอสซี โจวินโก ปีร์โล มอนโตลีโว โบนุชชี |
รอบชิงอันดับที่สาม
แก้อุรุกวัย | 2 – 2 (ต่อเวลาพิเศษ) | อิตาลี |
---|---|---|
กาบานี 58', 78' | รายงาน | อัสโตรี 24' ดีอาแมนตี 73' |
ลูกโทษ | ||
ฟอร์ลัน กาบานี ซัวเรซ กาเซเรส การ์กาโน |
2 – 3 | อากวีลานี เอล ชาราวี เด ชีโญ จัคเครีนี |
รอบชิงชนะเลิศ
แก้รางวัล
แก้รางวัลดังต่อไปนี้ได้รับสำหรับการแข่งขัน:[15]
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์ | รางวัลลูกบอลทองคำ | รางวัลรองเท้าทองคำ | รางวัลถุงมือทองคำ |
---|---|---|---|
สเปน | เนย์มาร์ | เฟร์นันโด ตอร์เรส | ชูลีโอ เซซาร์ |
รางวัลลูกบอลเงิน | รางวัลรองเท้าเงิน |
---|---|
อันเดรส อีเนียสตา | เฟรด |
รางวัลลูกบอลทองแดง | รางวัลรองเท้าทองแดง |
เปาลินโญ | เนย์มาร์ |
อันดับดาวซัลโว
แก้- 5 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
|
- ทำเข้าประตูตัวเอง
|
|
|
ลูกฟุตบอล
แก้ลูกฟุตบอลที่ใช้ในการแข่งขันอย่างเป็นทางการได้รับการเปิดตัวระหว่างการจับสลากแบ่งกลุ่มการแข่งขัน มีชื่อว่า "กาฟูซา" (Cafusa) ซึ่งมาจากคำว่า "Carnaval" หรืองานรื่นเริงของบราซิล, "Futebol" หรือฟุตบอล และ "Samba" แซมบา การเต้นแบบบราซิล[16] กาฟู อดีตกัปตันทีมชาติบราซิล ได้รับเชิญมาเปิดตัวลูกฟุตบอลดังกล่าวอย่างเป็นทางการ[16]
เทคโนโลยีโกลไลน์
แก้วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2556 ฟีฟ่าได้ยืนยันว่าจะใช้เทคโนโลยีโกลไลน์ในการแข่งขันครั้งนี้[17]
อ้างอิง
แก้- ↑ ออกเสียงตามภาษาโปรตุเกสสำเนียงบราซิลว่า [ˈkɔpɐ dɐs kõfedɛɾɐˈsõjz dɐ ˈfifɐ bɾɐˈziw ˈdojz ˈmiw i ˈtɾezi]
- ↑ "Plenty to look forward to in 2011". fifa.com. 2008-05-27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-21. สืบค้นเมื่อ 6 February 2013.
The latter two events will provide the first two qualifiers for the FIFA Confederations Cup Brazil 2013. And while that competition and the FIFA World Cup the country will organise 12 months later may seem a long way off, it is sure to come into sharper focus in July, when the Preliminary Draw for Brazil 2014 takes place in Rio de Janeiro.
- ↑ "AFC asks FIFA to change Confed Cup dates". the-afc.com. 2011-01-31. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-11. สืบค้นเมื่อ 6 February 2013.
- ↑ "43 in the fray for 2014 FWC qualifiers". Asian Football Confederation. March 23, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-11. สืบค้นเมื่อ 5 April 2011.
- ↑ "Acorn Media Group: Press Releases". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-24. สืบค้นเมื่อ 6 February 2013.
- ↑ "Cadeiras sao retiradas do Maracanã para conclusao da primeira etapa das obras pra a Copa do Mundo - Chairs are removed from Maracanã concluding the upgrading first step" (ภาษาโปรตุเกส). Noticias.r7.com. 1990-01-06. สืบค้นเมื่อ 6 February 2013.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Draw that will decide the calendar of the 2014 FIFA World Cup matches will take place in Bahia in 2013". Copa2014.gov.br/en. 29 June 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-05. สืบค้นเมื่อ 2013-04-24.
- ↑ "Brazil drawn with Italy, Spain to meet Uruguay". FIFA.com. 1 December 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-22. สืบค้นเมื่อ 2013-04-24.
- ↑ (2).pdf "Draw Procedures: FIFA Confederations Cup Brazil 2013" (PDF). FIFA.com.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่า|url=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ "Match officials appointed for FIFA Confederations Cup Brazil 2013". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 13 May 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-14. สืบค้นเมื่อ 2013-06-17.
- ↑ "Match officials for FIFA Confederations Cup 2013" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-07-09. สืบค้นเมื่อ 2013-06-17.
- ↑ "FIFA Confederations Cup Brazil 2013 match schedule presented in Rio de Janeiro". FIFA.com. 30 May 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-22. สืบค้นเมื่อ 2013-04-24.
- ↑ "Match Schedule – FIFA Confederations Cup Brazil 2013" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-02-28. สืบค้นเมื่อ 2013-04-24.
- ↑ "Regulations – FIFA Confederations Cup Brazil 2013" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-12. สืบค้นเมื่อ 2013-04-24.
- ↑ "Neymar breaks through for top award". FIFA.com. 1 July 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-05. สืบค้นเมื่อ 2013-07-01.
- ↑ 16.0 16.1 "Adidas Cafusa launched at Brazil 2013 draw". Fifa.com. 1 December 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-22. สืบค้นเมื่อ 1 December 2012.
- ↑ "FIFA appoints goal-line technology provider for Brazil 2013". FIFA.com. 2 April 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-15. สืบค้นเมื่อ 2013-04-24.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- 2013 FIFA Confederations Cup เก็บถาวร 2010-06-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน