เอเชียนคัพ 2019 (อาหรับ: كأس آسيا 2019) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์เอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 17 ภายใต้การควบคุมของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ได้รับคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งก่อนหน้านั้นเคยเป็นเจ้าภาพมาแล้วในเอเชียนคัพ 1996

เอเชียนคัพ 2019
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
วันที่5 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
ทีม24 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่8 (ใน 4 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน39
จำนวนประตู103 (2.64 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม392,518 (10,065 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศกาตาร์ อัลโมซ อาลี
(9 ประตู)
2015
2023

ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่เอเชียนคัพเพิ่มจำนวนทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจาก 16 เป็น 24 ทีม[1] การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม จะมี 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม

ในรอบคัดเลือก เจ้าภาพได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือต้องแข่งขันกันไปเรื่อย ๆ จนได้ 23 ทีม โดยเริ่มแข่งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 ไปจนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ในรอบคัดเลือก 2 รอบแรก จะดำเนินการแข่งร่วมกับฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย

ในการแข่งขันเอเชียนคัพครั้งนี้ ออสเตรเลียจะเป็นทีมที่ป้องกันตำแหน่งแชมป์ หลังจากที่ชนะเลิศในเอเชียนคัพ 2015 ที่ประเทศออสเตรเลีย แต่ทีมชนะเลิศเอเชียนคัพ 2019 ครั้งนี้ จะไม่ได้เข้าแข่งขันกับทีมชนะเลิศจากทวีปอื่น ๆ ในฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2021 เหมือนทุกปีที่ผ่านมา เนื่องจากรายการดังกล่าวถูกยุบโดยสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ และนำฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกมาแข่งขันแทน[2]

การคัดเลือก แก้

 
  ผ่านเข้ารอบ เอเชียนคัพ 2019
  กำลังคัดเลือก
  ไม่ผ่านการคัดเลือก
  ไม่ได้เข้าร่วม
  ไม่ได้เป็นสมาชิกของเอเอฟซี

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย แก้

เอเชียนคัพ 2019 ได้ปรับเปลี่ยนจำนวนทีมในรอบสุดท้ายจาก 16 ทีม เป็น 24 ทีม โดยทีมที่ผ่านถึงรอบที่ 3 ของฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย รวมทั้งสิ้น 12 ทีมจะเข้าสู่รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติและจะทำการคัดเลือกทีมที่เหลือให้ได้ครบ 24 ทีม ซึ่งการแข่งขันในรอบคัดเลือกได้สิ้นสุดเมื่อ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยได้ 24 ทีมผ่านเข้ารอบสุดท้ายที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ในที่นี้มีจำนวน 3 ชาติที่เพิ่งผ่านเข้ารอบสุดท้ายได้เป็นครั้งแรก ประกอบไปด้วย ฟิลิปปินส์, เยเมน และคีร์กีซสถาน สำหรับทีมชาติไทยเป็นการเข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายเป็นครั้งที่ 7

ทีม วิธีการเข้ารอบ วันที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานที่ดีที่สุด
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เจ้าภาพ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 รองชนะเลิศ (1996)
  ซาอุดีอาระเบีย ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอ 24 มีนาคม พ.ศ. 2559 ชนะเลิศ (1984, 1988, 1996)
  ออสเตรเลีย ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มบี 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 ชนะเลิศ (2015)
  กาตาร์ ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2000, 2011)
  อิหร่าน ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มดี 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 ชนะเลิศ (1968, 1972, 1976)
  ญี่ปุ่น ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี 24 มีนาคม พ.ศ. 2559 ชนะเลิศ (1992,2000,2004,2011)
  ไทย ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ 24 มีนาคม พ.ศ. 2559 อันดับที่สาม (1972)
  เกาหลีใต้ ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มจี 13 มกราคม พ.ศ. 2559 ชนะเลิศ (1956, 1960)
  อุซเบกิสถาน ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอช 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 อันดับที่สี่ (2011)
  อิรัก ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 ชนะเลิศ (2007)
  ซีเรีย ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 รอบแบ่งกลุ่ม (1980, 1984, 1988, 1996, 2011)
  จีน ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี 29 มีนาคม พ.ศ. 2559 รองชนะเลิศ (1984, 2004)
  อินเดีย ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2560 3 (1964, 1984, 2011)
  คีร์กีซสถาน ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ 22 มีนาคม พ.ศ. 2561 0 (ครั้งแรก)
  เลบานอน ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 1 (2000)
  เกาหลีเหนือ ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 4 (1980, 1992, 2011, 2015)
  จอร์แดน ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 3 (2004, 2011, 2015)
  เวียดนาม ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 3 (19562, 19602, 2007)
  ปาเลสไตน์ ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 1 (2015)
  โอมาน ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560 3 (2004, 2007, 2015)
  บาห์เรน ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 5 (1988, 2004, 2007, 2011, 2015)
  เติร์กเมนิสถาน ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 1 (2004)
  ฟิลิปปินส์ ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 0 (ครั้งแรก)
  เยเมน ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 0 (ครั้งแรก)

สนาม แก้

รายชื่อสนามที่ใช้แข่งขันทั้งหมด[3]

อาบูดาบี
สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด สนามกีฬาอัลนะฮ์ยาน
ความจุ: 43,630 ที่นั่ง ความจุ: 42,056 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) ความจุ: 12,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
     
ดูไบ
สนามกีฬามักตูม รอชิด อาล มักตูม
ความจุ: 12,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
 
ดูไบ
สนามกีฬาอาลมักตูม
ความจุ: 15,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
อัลอัยน์ ชาร์จาห์
สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด สนามกีฬาเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด สนามกีฬาชาร์จาห์
ความจุ: 25,965 ที่นั่ง ความจุ: 16,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) ความจุ: 11,073 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
 

การจับสลากแบ่งกลุ่ม แก้

การจับสลากสำหรับฟุตบอลเอเชียนคัพรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ที่อาร์มานีโฮเทลในดูไบ ในฐานะเจ้าภาพ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์จะได้เป็นทีมวางอยู่ในโถที่ 1 ทีมอื่น ๆ อีก 23 ทีมจะได้รับการจัดสรรตามอันดับฟีฟ่าของพวกเขาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2561 ทั้ง 24 ทีมจะได้รับการจับสลากแบ่งในกลุ่ม 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยชาติเจ้าภาพอยู่ในตำแหน่งเอ 1

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

ผู้ตัดสิน แก้

5 ธันวาคม 2561 สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสินจำนวน 60 ราย ที่จะลงทำหน้าที่ตัดสินในเกมการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 ระหว่างวันที่ 5 มกราคม 2562 – 1 กุมภาพันธ์ 2562 ที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทั้งประเภทที่ทำหน้าที่ในสนาม และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ โดยแยกเป็นผู้ตัดสิน 30 ราย และผู้ช่วยผู้ตัดสินอีก 30 ราย

ผู้ตัดสิน แก้

  •   Chris Beath
  •   Peter Green
  •   Nawaf Shukralla
  •   Fu Ming
  •   Ma Ning
  •   Liu Kwok Man
  •   Alireza Faghani
  •   Ali Sabah
  •   Mohanad Qasim Eesee Sarray
  •   Jumpei Iida
  •   Hiroyuki Kimura
  •   Ryuji Sato
  •   Ahmed Al-Ali
  •   Adham Makhadmeh
  •   Kim Dong-jin
  •   Ko Hyung-jin
  •   Mohd Amirul Izwan Yaacob
  •   César Arturo Ramos
  •   Ahmed Al-Kaf
  •   Abdulrahman Al-Jassim
  •   Khamis Al-Kuwari
  •   Khamis Al-Marri
  •   Turki Al-Khudhayr
  •   Muhammad Taqi
  •   Hettikamkanamge Perera
  •   Ammar Al-Jeneibi
  •   Mohammed Abdulla Hassan Mohamed
  •   Ravshan Irmatov
  •   Valentin Kovalenko
  •   Ilgiz Tantashev

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน แก้

  •   Matthew Cream
  •   Anton Shchetinin
  •   Mohamed Salman
  •   Yaser Tulefat
  •   Cao Yi
  •   Huo Weiming
  •   Mohammadreza Mansouri
  •   Reza Sokhandan
  •   Jun Mihara
  •   Hiroshi Yamauchi
  •   Mohammad Al-Kalaf
  •   Ahmad Al-Roalle
  •   Kim Young-ha
  •   Yoon Kwang-yeol
  •   Sergei Grishchenko
  •   Mohd Yusri Muhamad
  •   Mohamad Zainal Abidin
  •   Miguel Hernández
  •   Alberto Morín
  •   Abu Bakar Al-Amri
  •   Rashid Al-Ghaithi
  •   Saud Al-Maqaleh
  •   Taleb Al-Marri
  •   Mohammed Al-Abakry
  •   Ronnie Koh Min Kiat
  •   Palitha Hemathunga
  •   Mohamed Al-Hammadi
  •   Hasan Al-Mahri
  •   Abdukhamidullo Rasulov
  •   Jakhongir Saidov

ผู้เล่น แก้

แต่ละทีมจะต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 23 คน หรือขั้นต่ำ 18 คน โดยต้องมีผู้เล่นตำแหน่งผู้รักษาประตู 3 คน

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

กลุ่มเอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (H) 3 1 2 0 4 2 +2 5 รอบแพ้คัดออก
2   ไทย 3 1 1 1 3 5 −2 4[a]
3   บาห์เรน 3 1 1 1 2 2 0 4[a]
4   อินเดีย 3 1 0 2 4 4 0 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 คะแนน เฮด-ทู-เฮด: ไทย 3, บาห์เรน 0.

บาห์เรน  0–1  ไทย
รายงาน ชนาธิป   58'

กลุ่มบี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   จอร์แดน 3 2 1 0 3 0 +3 7 รอบแพ้คัดออก
2   ออสเตรเลีย 3 2 0 1 6 3 +3 6
3   ปาเลสไตน์ 3 0 2 1 0 3 −3 2
4   ซีเรีย 3 0 1 2 2 5 −3 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เกาหลีใต้ 3 3 0 0 4 0 +4 9 รอบแพ้คัดออก
2   จีน 3 2 0 1 5 3 +2 6
3   คีร์กีซสถาน 3 1 0 2 4 4 0 3
4   ฟิลิปปินส์ 3 0 0 3 1 7 −6 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มดี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน 3 2 1 0 7 0 +7 7 รอบแพ้คัดออก
2   อิรัก 3 2 1 0 6 2 +4 7
3   เวียดนาม 3 1 0 2 4 5 −1 3
4   เยเมน 3 0 0 3 0 10 −10 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม

เยเมน  0–3  อิรัก
รายงาน อาลี   11'
ราซาน   19'
อับบาส   90+1'
ผู้ชม: 9,757 คน
ผู้ตัดสิน: Fu Ming (จีน)

อิหร่าน  0–0  อิรัก
รายงาน

กลุ่มอี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   กาตาร์ 3 3 0 0 10 0 +10 9 รอบแพ้คัดออก
2   ซาอุดีอาระเบีย 3 2 0 1 6 2 +4 6
3   เลบานอน 3 1 0 2 4 5 −1 3
4   เกาหลีเหนือ 3 0 0 3 1 14 −13 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


กลุ่มเอฟ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 3 3 0 0 6 3 +3 9 รอบแพ้คัดออก
2   อุซเบกิสถาน 3 2 0 1 7 3 +4 6
3   โอมาน 3 1 0 2 4 4 0 3
4   เติร์กเมนิสถาน 3 0 0 3 3 10 −7 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


การจัดอันดับที่ 3 แก้

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอ   บาห์เรน 3 1 1 1 2 2 0 4 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ซี   คีร์กีซสถาน 3 1 0 2 4 4 0 3
3 เอฟ   โอมาน 3 1 0 2 4 4 0 3
4 ดี   เวียดนาม 3 1 0 2 4 5 −1 3
5 อี   เลบานอน 3 1 0 2 4 5 −1 3
6 บี   ซีเรีย 3 0 2 1 2 5 −3 2
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ประตูได้เสีย; 3) ประตูได้; 4) คะแนนวินัย; 5) จับฉลากเข้ารอบ[4]

รอบแพ้คัดออก แก้

 
รอบ 16 ทีมรอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
20 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด
 
 
  ไทย1
 
24 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
  จีน2
 
  จีน0
 
20 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
  อิหร่าน3
 
  อิหร่าน2
 
28 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด
 
  โอมาน0
 
  อิหร่าน0
 
20 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
  ญี่ปุ่น3
 
  จอร์แดน1 (2)
 
24 มกราคม – สนามกีฬาอาลมักตูม
 
  เวียดนาม (ลูกโทษ)1 (4)
 
  เวียดนาม0
 
21 มกราคม – สนามกีฬาชาร์จาห์
 
  ญี่ปุ่น1
 
  ญี่ปุ่น1
 
1 กุมภาพันธ์ – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
 
  ซาอุดีอาระเบีย0
 
  ญี่ปุ่น1
 
22 มกราคม – สนามกีฬามักตูม รอชิด อาล มักตูม
 
  กาตาร์3
 
  เกาหลีใต้2
 
25 มกราคม – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
 
  บาห์เรน1
 
  เกาหลีใต้0
 
22 มกราคม – สนามกีฬาอัลนะฮ์ยาน
 
  กาตาร์1
 
  กาตาร์1
 
29 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
  อิรัก0
 
  กาตาร์4
 
21 มกราคม – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
 
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์0
 
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์3
 
25 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด
 
  คีร์กีซสถาน2
 
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1
 
21 มกราคม – สนามกีฬาเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด
 
  ออสเตรเลีย0
 
  ออสเตรเลีย0 (4)
 
 
  อุซเบกิสถาน (ลูกโทษ)0 (2)
 

รอบ 16 ทีม แก้








รอบ 8 ทีม แก้


จีน 0-3 อิหร่าน



รอบรองชนะเลิศ แก้


รอบชิงชนะเลิศ แก้


สถิติ แก้

ผู้ทำประตูสูงสุด แก้

การแข่งขันเอเชียนคัพในครั้งนี้มีการทำประตูได้ทั้งหมด 96 ประตู โดยเป็นประตูที่ทำได้ใน 36 นัด สำหรับค่าเฉลี่ยในการทำประตูในแต่ละนัดคือ 2.67 ประตูต่อนัด.

9 ประตู


4 ประตู


3 ประตู


2 ประตู


1 ประตู


การทำเข้าประตูตัวเอง

การตลาด แก้

สัญลักษณ์ แก้

ตุ๊กตาสัญลักษณ์ แก้

ถ้วยรางวัล แก้

ถ้วยรางวัลแบบใหม่ออกแบบโดยโทมัส ไลต์ จากประเทศอังกฤษ ถ้วยทำด้วยเงินมีความสูง 72 เซนติเมตร กว้าง 42 เซนติเมตร หนัก 15 กิโลกรัม โดยออกแบบถ้วยเป็นดอกบัว 5 ชั้น ซึ่งแสดงถึงห้าภูมิภาคของเอเอฟซี ได้แก่ เอเชียตะวันตก (ดับเบิลยูเอเอฟเอฟ), เอเชียกลาง (ซีเอเอฟเอ), เอเชียใต้ (เอสเอเอฟเอฟ), เอเชียตะวันออก (อีเอเอฟเอฟ) และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เอเอฟเอฟ) ซึ่งดอกบัวมีความหมายถึงสันติสุขและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และฐานด้านล่างถ้วยรางวัลจารึกแชมป์เอเชียนคัพตั้งแต่ปี 1956 จนถึงครั้งล่าสุดเมื่อปี 2015

ลูกฟุตบอล แก้

 
มอลเทน อเซนเทค

ลูกฟุตบอลอย่างเป็นทางการที่ใช้ในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 คือ "มอลเทน อเซนเทค" ผลิตและออกแบบโดย บริษัท มอลเทน คอร์ปอเรชั่น

เงินรางวัล แก้

เงินรางวัลสำหรับการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 รวมทั้งสิ้น 14,800,000 เหรียญสหรัฐ แบ่งออกเป็น

การถ่ายทอดสด แก้

อาณาเขต ช่องที่ทำการถ่ายทอดสด Ref
  อัฟกานิสถาน 1TV
  แอลเบเนีย RTSH
  อาเซอร์ไบจาน AZTV
  สันนิบาตอาหรับ beIN Sports٫MBC Pro Sports
  เอเชียแปซิฟิก Fox Sports Asia
  ออสเตรเลีย Fox Sports
  จีน CCTV
  ฝรั่งเศส Canal+Sport٫EuroSport
  เยอรมนี ARD٫ZDF
  อินเดีย Star Sports
  อินโดนีเซีย MNC Media
  อิหร่าน IRIB
  อิตาลี Rai Sport
  จอร์แดน Amman TV٫JRTV
  ญี่ปุ่น TV Asahi, NHK BS1
  คีร์กีซสถาน KTRK Sport
  เกาหลีใต้ JTBC, JTBC3 Fox Sports
  เลบานอน Télé Liban
  โมร็อกโก Arryadia٫Al Aoula٫Tamazight TV٫Al Maghribia
  โปรตุเกส RTP٫SportTV
  สเปน TVE
  ทาจิกิสถาน Futbol FFT, Varzish TV
  ไทย Channel 7
  เติร์กเมนิสถาน Turkmenistan Sport
  ตูนิเซีย ERTT
  ตุรกี TRT Spor
  สหราชอาณาจักร
  อังกฤษ
  เวลส์
  สกอตแลนด์
  ไอร์แลนด์
BBC Sports٫EuroSport
  อุซเบกิสถาน MTRK Sport
  เวียดนาม VTV, VTC

ปัญหา แก้

ความขัดแย้งกับประเทศกาตาร์ แก้

ตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน 2017 หลังจากประเทศกาตาร์ถูกตัดความสัมพันธ์ทางการทูตโดยประเทศซาอุดีอาระเบีย และยังรวมถึงประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทำให้ประเทศกาตาร์ถูกตัดการติดต่อระหว่างพรมแดนทางบก ทางทะเล และทางอากาศ และห้ามประชาชนกาตาร์เข้ามาในประเทศ แต่ในภายหลังรัฐบาลอนุญาตให้ชาวกาตาร์เข้ามาในประเทศได้ แต่ยังไม่ชัดเจนว่าประชาชนที่เดินทางจากกาตาร์จะได้รับอนุญาตให้เข้าประเทศได้หรือไม่

อ้างอิง แก้

  1. "ExCo approves expanded AFC Asian Cup finals". AFC. 16 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 25 August 2014.
  2. ฟีฟ่า (16 มีนาคม 2562). "อวสานคอนเฟด! ฟีฟ่าเสนอจัดชิงแชมป์สโมสรโลกทุก 4 ปี". www.foxsports.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "UAE to host AFC Asian Cup 2019 in eight stadiums in four cities". the-afc.com. สืบค้นเมื่อ 23 February 2016.
  4. "AFC Asian Cup 2019 Competition Regulations". AFC.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้