ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน

ฟุตบอลทีมชาติอุซเบกิสถาน (อุซเบก: Oʻzbekiston milliy futbol terma jamoasi / Ўзбекистон миллий футбол терма жамоаси; รัสเซีย: Национальная сборная Узбекистана по футболу) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอุซเบกิสถาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอุซเบกิสถาน สนามเหย้าของทีมชาติคือสนามกีฬาบุนยอดกอร์ในทาชเคนต์ หัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือ Srečko Katanec อุซเบกิสถานไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลก แต่ผ่านรอบคัดเลือกของเอเชียนคัพทุกครั้งนับตั้งแต่ก่อตั้งทีมชาติ ผลงานที่สำคัญ ได้แก่ อันดับที่สี่ในเอเชียนคัพ 2011 และชนะเลิศเอเชียนเกมส์ 1994 และยังได้เข้าชิงแอโฟร-เอเชียนคัพออฟเนชันส์ใน ค.ศ. 1995

อุซเบกิสถาน
Shirt badge/Association crest
ฉายาหมาป่าสีขาว
Turanians
หมาป่าขาวแห่งเอเชียกลาง (ในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลอุซเบกิสถาน (UFA)
สมาพันธ์ย่อยCAFA (เอเชียกลาง)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนSrečko Katanec
กัปตันเอลดอร์ โชมูโรดอฟ
ติดทีมชาติสูงสุดServer Djeparov (128)
ทำประตูสูงสุดMaksim Shatskikh (34)
สนามเหย้าสนามกีฬามิลลีย์
สนามกีฬาปักห์ตากอร์
รหัสฟีฟ่าUZB
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 62 เพิ่มขึ้น 2 (20 มิถุนายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด45 (พฤศจิกายน 2006 – มกราคม 2007)
อันดับต่ำสุด119 (พฤศจิกายน 1996)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 2–2 อุซเบกิสถาน ธงชาติอุซเบกิสถาน
(ดูชานเบ ประเทศทาจิกิสถาน; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1992)
ชนะสูงสุด
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 15–0 มองโกเลีย ธงชาติมองโกเลีย
(เชียงใหม่ ประเทศไทย; 5 ธันวาคม ค.ศ. 1998)
แพ้สูงสุด
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 8–1 อุซเบกิสถาน ธงชาติอุซเบกิสถาน
(ไซดอน ประเทศเลบานอน; 17 ตุลาคม ค.ศ. 2000)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม8 (ครั้งแรกใน 1996)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (2011)

สถิติการแข่งขัน

แก้

ฟุตบอลโลก

แก้
ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  1930  1990 ส่วนหนึ่งของ สหภาพโซเวียต   ส่วนหนึ่งของ สหภาพโซเวียต  
  1994 ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้เข้าร่วม
  1998 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 14 6 4 4 33 21
 /  2002 14 7 3 4 33 19
  2006 13 6 5 3 24 15
  2010 16 8 1 7 33 26
  2014 18 11 4 3 28 9
  2018 18 11 1 6 26 14
  2022 8 5 0 3 18 9
ทั้งหมด 0/7 102 54 18 30 195 133

เอเชียนคัพ

แก้
เอเชียนคัพ
ปี ผล อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  1996 รอบแบ่งกลุ่ม 10 3 1 0 2 3 6
  2000 รอบแบ่งกลุ่ม 12 3 0 1 2 2 14
  2004 รอบก่อนรองชนะเลิศ 6 4 3 1 0 5 2
     2007 รอบก่อนรองชนะเลิศ 7 4 2 0 2 10 4
  2011 อันดับที่ 4 4 6 3 1 2 10 13
  2015 รอบก่อนรองชนะเลิศ 8 4 2 0 2 5 5
  2019 รอบก่อนรองชนะเลิศ 10 4 2 1 1 7 3
  2023 รอบก่อนรองชนะเลิศ
ทั้งหมด 7/7 4 8 7 0 1 20 7

เอเชียนเกมส์

แก้
ปี ผล
1951 ส่วนหนึ่งของ สหภาพโซเวียต  
1994 ชนะเลิศ
1998 รอบก่อนรองชนะเลิศ

สนาม

แก้
สนาม ที่ตั้ง ความจุ ภาพ ปีที่ใช้งาน
สนามหลัก
สนามกีฬากลางปักห์ตากอร์ ทาชเคนต์ 35,000   ค.ศ. 1991–2012
สนามกีฬาบุนยอดกอร์ ทาชเคนต์ 34,000   ค.ศ. 2013–ปัจจุบัน
สนามอื่น ๆ
สนามกีฬาเอ็มเอชเอสเค ทาชเคนต์ 16,000   ค.ศ. 1996, 2008
สนามกีฬาเอ็นบียู ทาชเคนต์ ค.ศ. 2000
สนามกีฬาเจเออาร์ ทาชเคนต์ 8,460 ค.ศ. 2012, 2014
สนามกีฬาดีนาโมซามาร์กันต์ ซามาร์กันต์ 16,000   ค.ศ. 1999
สนามกีฬากลางการ์ชี การ์ชี 14,750 ค.ศ. 2007
สนามกีฬาเมทัลลุร์ก อัลมาลีก 11,000 ค.ศ. 2014

สถิติผู้เล่น

แก้

ลงเล่นมากที่สุด

แก้
 
Alexander Geynrikh
ณ วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2018
# ชื่อ ช่วงปี (ค.ศ.) ลงเล่น (นัด) ประตู
1 Server Djeparov 2002–ปัจจุบัน 126 25
2 Timur Kapadze 2002–2015 119 10
3 Alexander Geynrikh 2002–2017 97 31
4 Ignatiy Nesterov 2002–ปัจจุบัน 97 0
5 Odil Ahmedov 2007–ปัจจุบัน 88 16
6 Anzur Ismailov 2007–ปัจจุบัน 87 2
7 Azizbek Haydarov 2007–ปัจจุบัน 85 1
8 Vitaliy Denisov 2007–ปัจจุบัน 71 1
9 Mirjalol Qosimov 1992–2005 66 30
10 Andrey Fyodorov 1994–2006 65 7

ทำประตูสูงสุด

แก้
 
Maksim Shatskikh
ณ วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2018
# ชื่อ ช่วงปี (ค.ศ.) ประตู ลงเล่น (นัด)
1 Maksim Shatskikh 1999–2014 34 61
2 Alexander Geynrikh 2002–2017 31 97
3 Mirjalol Qosimov 1992–2005 30 66
4 Server Djeparov 2002–ปัจจุบัน 25 126
5 Igor Shkvyrin 1992–2000 20 31
6 Odil Ahmedov 2007–ปัจจุบัน 16 88
7 Jafar Irismetov 1997–2007 15 36
8 Ulugbek Bakayev 2001–2014 14 53
9 Nikolay Shirshov 1996–2005 13 64
10 Sardor Rashidov 2013–ปัจจุบัน 12 43
11 Igor Sergeev 2013–ปัจจุบัน 11 42
Shukhrat Maqsudov 1992–1997 11 21
Azamat Abduraimov 1992–1997 11 22
Vladimir Shishelov 2000–2012 11 28
11 Timur Kapadze 2002–2015 10 119

อ้างอิง

แก้
  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้