เอเชียนคัพ 2015 (AFC Asian Cup 2015) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปเอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 16 จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ในระหว่างวันที่ 9-31 มกราคม พ.ศ. 2558 ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยทีมที่ชนะเลิศในการแข่งขันรายการนี้จะได้สิทธิ์ในการแข่งขัน คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ที่ประเทศรัสเซีย

เอเอฟซี เอเชียนคัพ 2015
เอเชียนคัพ 2015
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพออสเตรเลีย
วันที่9 - 31 มกราคม พ.ศ. 2558 (23 วัน)
ทีม16
สถานที่(ใน 5 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
อันดับที่ 3Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
อันดับที่ 4ธงชาติอิรัก อิรัก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู85 (2.66 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม649,705 (20,303 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาลี มาบคฮูต
(5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมออสเตรเลีย มัสซิโม ลูออนโก
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมออสเตรเลีย แมทิว ไรอัน
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
2011
2019
ผลงานของประเทศที่เข้าร่วมในเอเชียนคัพ 2015
  ชนะเลิศ
  รองชนะเลิศ
  อันดับที่ 3
  อันดับที่ 4
  รอบก่อนรองชนะเลิศ
  รอบแบ่งกลุ่ม

การคัดเลือกเจ้าภาพ

แก้

รอบคัดเลือก

แก้

ทีมที่ผ่านเข้าไปในรอบสุดท้าย

แก้

การจับฉลากแบ่งกลุ่ม

แก้
โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

  ออสเตรเลีย (63) (เจ้าภาพ)
  อิหร่าน (42)
  ญี่ปุ่น (48)
  อุซเบกิสถาน (55)

  เกาหลีใต้ (60)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (61)
  จอร์แดน (66)
  ซาอุดีอาระเบีย (75)

  โอมาน (81)
  จีน (98)
  กาตาร์ (101)
  อิรัก (103)

  บาห์เรน (106)
  คูเวต (110)
  เกาหลีเหนือ (133)
  ปาเลสไตน์ (167)

สนามที่ใช้ในการแข่งขัน

แก้

วันที่

แก้

การแข่งขันนี้เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 9 ถึง 31 มกราคม, ซึ่งแข่งขันกันในช่วงกลางฤดูกาลของฟุตบอลลีกออสเตรเลีย, และเป็นช่วงฤดูร้อนของประเทศออสเตรเลีย.

ใน ฤดูกาล 2014-15 ของ เอลีก, ลีกฟุตบอลนานาชาติที่สูงสุดของประเทศออสเตรเลีย[1]

สถานที่

แก้

สมาคมได้กำหนดให้เมืองทั้ง 5 เมืองของประเทศออสเตรเลียที่ใช้สนามในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2015 ซึ่งได้แก่, ซิดนีย์, เมลเบิร์น, บริสเบน, แคนเบอร์รา และ นิวคาสเซิล,[2]

ซิดนีย์ นิวคาสเซิล บริสเบน
สนามกีฬาออสเตรเลีย สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล สนามกีฬาบริสเบน
ความจุ: 84,000 ความจุ: 33,000 ความจุ: 52,500
     
แคนเบอร์รา
สนามกีฬาแคนเบอร์รา
ความจุ: 25,011
 
เมลเบิร์น
สนามกีฬาเมลเบิร์น
ความจุ: 30,050
 

ที่พักนักกีฬา

แก้

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

ตารางการแข่งขันได้ประกาศขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2013.[2][3]

กลุ่ม A

แก้
ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
  เกาหลีใต้ (A) 3 3 0 0 3 0 +3 9
  ออสเตรเลีย (H, A) 3 2 0 1 8 2 +6 6
  โอมาน (E) 3 1 0 2 1 5 –4 3
  คูเวต (E) 3 0 0 3 1 6 –5 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ.
9 มกราคม 2015
ออสเตรเลีย   4–1   คูเวต สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
10 มกราคม 2015
เกาหลีใต้   1–0   โอมาน สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
13 มกราคม 2015
คูเวต   0–1   เกาหลีใต้ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
โอมาน   0–4   ออสเตรเลีย สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์
17 มกราคม 2015
ออสเตรเลีย   0–1   เกาหลีใต้ สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
โอมาน   1–0   คูเวต สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล, นิวคาสเซิล

กลุ่ม B

แก้
ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
  จีน (A) 3 3 0 0 5 2 +3 9
  อุซเบกิสถาน (A) 3 2 0 1 5 3 +2 6
  ซาอุดิอาระเบีย (E) 3 1 0 2 5 5 0 3
  เกาหลีเหนือ (E) 3 0 0 3 2 7 –5 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
10 มกราคม 2015
อุซเบกิสถาน   1–0   เกาหลีเหนือ สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์
ซาอุดีอาระเบีย   0–1   จีน สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
14 มกราคม 2015
เกาหลีเหนือ   1–4   ซาอุดีอาระเบีย สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
จีน   2–1   อุซเบกิสถาน สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
18 มกราคม 2015
อุซเบกิสถาน   3–1   ซาอุดีอาระเบีย สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
จีน   2–1   เกาหลีเหนือ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา

กลุ่ม C

แก้
ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
  อิหร่าน (A) 3 3 0 0 4 0 +4 9
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (A) 3 2 0 1 6 3 +3 6
  บาห์เรน (E) 3 1 0 2 3 5 –2 3
  กาตาร์ (E) 3 0 0 3 2 7 –5 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
11 มกราคม 2015
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์   4–1   กาตาร์ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
อิหร่าน   2–0   บาห์เรน สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
15 มกราคม 2015
บาห์เรน   1–2   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
กาตาร์   0–1   อิหร่าน สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์
19 มกราคม 2015
อิหร่าน   1–0   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
กาตาร์   1–2   บาห์เรน สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์

กลุ่ม D

แก้
ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
  ญี่ปุ่น (A) 3 3 0 0 7 0 +7 9
  อิรัก (A) 3 2 0 1 3 1 +2 6
  จอร์แดน (E) 3 1 0 2 5 4 +1 3
  ปาเลสไตน์ (E) 3 0 0 3 1 11 –10 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
12 มกราคม 2015
ญี่ปุ่น   4–0   ปาเลสไตน์ สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล, นิวคาสเซิล
จอร์แดน   0–1   อิรัก สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
16 มกราคม 2015
ปาเลสไตน์   1–5   จอร์แดน สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
อิรัก   0–1   ญี่ปุ่น สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
20 มกราคม 2015
ญี่ปุ่น   2–0   จอร์แดน สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
อิรัก   2–0   ปาเลสไตน์ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา

รอบแพ้คัดออก

แก้

ในรอบแพ้คัดออก, ต่อเวลาพิเศษ และ ยิงจุดโทษตัดสิน จะเป็นวิธีการใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น.

รอบ 8 ทีม รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
22 มกราคม – เมลเบิร์น        
   เกาหลีใต้
(ต่อเวลา)
 2
26 มกราคม – ซิดนีย์
   อุซเบกิสถาน  0  
   เกาหลีใต้  2
23 มกราคม – แคนเบอร์รา
       อิรัก  0  
   อิหร่าน  3 (6)
31 มกราคม – ซิดนีย์
   อิรัก (ลูกโทษ)  3 (7)  
   เกาหลีใต้  1
22 มกราคม – บริสเบน    
     ออสเตรเลีย
(ต่อเวลา)
 2
   จีน  0
27 มกราคม – นิวคาสเซิล
   ออสเตรเลีย  2  
   ออสเตรเลีย  2
23 มกราคม – ซิดนีย์
       สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  0  
   ญี่ปุ่น  1 (4)
   สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ลูกโทษ)  1 (5)  
 


รอบ 8 ทีมสุดท้าย

แก้



รอบรองชนะเลิศ

แก้

รอบชิงอันดับที่สาม

แก้

รอบชิงชนะเลิศ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "A-League break likely for Asian Cup". theroar.com.au. สืบค้นเมื่อ 7 January 2013.
  2. 2.0 2.1 "Venues and Match Schedule" (PDF). footballaustralia.com.au. สืบค้นเมื่อ 27 March 2013.
  3. "Match Schedule AFC Asian Cup Australia 2015" (PDF). AFC.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้