ฟุตบอลทีมชาติโรมาเนีย

ฟุตบอลทีมชาติโรมาเนีย (โรมาเนีย: Echipa națională de fotbal a României) เป็นฟุตบอลทีมชาติของประเทศโรมาเนีย ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลโรมาเนีย

โรมาเนีย
ฉายาTricolorii (ไตรรงค์ หรือ สามสี)
ผีดิบ (ฉายาในประเทศไทย)[1]
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลโรมาเนีย Federația Română de Fotbal (FRF)
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนEdward Iordănescu
กัปตันVlad Chiricheș
ติดทีมชาติสูงสุดโดริเนล มุนเตอานู (134)
ทำประตูสูงสุดเกออร์เก ฮาจี
อาเดรียน มูตู (35)
สนามเหย้าอาเรนา นัตซิโอนาเลอ
คลุจ อาเรนา
สตาดิโอนุล อิลิเย โออาเนอ
รหัสฟีฟ่าROU
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 45 ลดลง 2 (15 กุมภาพันธ์ 2024)[2]
อันดับสูงสุด3 (กันยายน 1997)
อันดับต่ำสุด57 (กุมภาพันธ์ 2011, กันยายน 2012)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย 1–2 โรมาเนีย ธงชาติโรมาเนีย
(เบลเกรด ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย; 8 มิถุนายน ค.ศ. 1922)
ชนะสูงสุด
ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย 9–0 ฟินแลนด์ ธงชาติฟินแลนด์
(บูคาเรสต์ ประเทศโรมาเนีย; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1973)
แพ้สูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 9–0 โรมาเนีย ธงชาติโรมาเนีย
(บูดาเปสต์ ประเทศฮังการี; 6 มิถุนายน ค.ศ. 1948)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม7 (ครั้งแรกใน 1930)
ผลงานดีที่สุดรอบก่อนรองชนะเลิศ (1994)
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 1984)
ผลงานดีที่สุดรอบก่อนรองชนะเลิศ (2000)

ผู้สนับสนุนชุดแข่งขัน แก้

ผู้ผลิตชุด ระยะเวลา
  เลอค็อกสปอร์ติฟ 1977–1983
  อาดิดาส 1984–2015
  โจมา 2015–2018

การแข่งขัน แก้

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 แก้

ดูบทความหลัก: ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016

ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ที่ฝรั่งเศส โรมาเนียอยู่ในกลุ่มเอ ร่วมกับเจ้าภาพฝรั่งเศส, สวิตเซอร์แลนด์ และแอลบาเนีย ผลการแข่งขันในรอบแรก โรมาเนียไม่สามารถเอาชนะได้เลย โดยเสมอไป 1 นัด และแพ้ 2 นัด ทำให้เป็นชาติแรกที่ต้องตกรอบในการแข่งขันคราวนี้[3] โดยโรมาเนียยิงประตูได้ 2 ประตู จาก 2 นัด ซึ่งก็มาจากจุดโทษทั้ง 2 ประตู[4]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ฝรั่งเศส (H) 3 2 1 0 4 1 +3 7 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2   สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 2 0 2 1 +1 5
3   แอลเบเนีย 3 1 0 2 1 3 −2 3
4   โรมาเนีย 3 0 1 2 2 4 −2 1
แหล่งที่มา : UEFA
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.

ผู้เล่นคนสำคัญ แก้

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ แก้

ประวัติชุดแข่งขัน แก้

 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1930–1934 เหย้า[5][5]
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1938 เหย้า[6]
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1970 เหย้า
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1970 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1984 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1990 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1990 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1994 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1994 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1996 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1998 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ฟุตบอลโลก 1998 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2000 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2006 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2008 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2008 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2010 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2010 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2012 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2012 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2014 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2014 เยือน
 
 
 
 
 
 
 
 
2015 เหย้า
 
 
 
 
 
 
 
 
2015 เยือน

อ้างอิง แก้

  1. โดยหมายถึง แดรกคูลา นวนิยายแวมไพร์ที่โด่งดังระดับโลก ที่สถานที่เกิดเหตุคือโรมาเนีย
  2. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 15 กุมภาพันธ์ 2024. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2024.
  3. "บอลยูโรฝรั่งเศสเจ๊าสวิต0-0,โรมาเนียตกรอบพ่ายแอลเบเนีย0-1". newsplus. 20 June 2016. สืบค้นเมื่อ 20 June 2016.[ลิงก์เสีย]
  4. "12ข้อควรรู้ก่อนเกมโรมาเนียวัดคมแอลเบเนีย". สยามสปอร์ต. 19 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-25. สืบค้นเมื่อ 20 June 2016.
  5. 5.0 5.1 "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-01. สืบค้นเมื่อ 2016-06-20.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  6. "FIFA World Cup 1938 – Historical Football Kits". Historicalkits.co.uk. สืบค้นเมื่อ 2015-10-11.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้