ฟุตบอลทีมชาติพม่า

ฟุตบอลทีมชาติพม่า (อังกฤษ: Myanmar national football team; พม่า: မြန်မာ့လက်ရွေးစင်အမျိုးသားအသင်း) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศพม่า อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลพม่า[3] ทีมชาติพม่ายังไม่มีผลงานในระดับโลก แต่ในระดับเอเชียเคยได้รองชนะเลิศในการแข่งขันเอเชียนคัพ ในเอเชียนคัพ 1968 สำหรับในระดับอาเซียน อันดับสูงสุดคือได้เข้ารอบรองชนะเลิศในไทเกอร์คัพ

พม่า
Shirt badge/Association crest
ฉายาChinthe
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลพม่า
สมาพันธ์ย่อยเอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนอองตวน เฮย์
กัปตันหม่อง หม่อง ลวิน
ติดทีมชาติสูงสุดซอมี่นทู่น (73)
ทำประตูสูงสุดมโย่ไลง์วี่น (36)
สนามเหย้าสนามกีฬาตุวูนนะ
รหัสฟีฟ่าMYA
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 164 ลดลง 1 (20 มิถุนายน 2024)[1]
อันดับสูงสุด97 (เมษายน ค.ศ. 1996)
อันดับต่ำสุด182 (สิงหาคม ค.ศ. 2012, ตุลาคม ค.ศ. 2012)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 5–2 พม่า ธงชาติประเทศพม่า
(ฮ่องกง; 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1950)[2]
ชนะสูงสุด
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 9–0 สิงคโปร์ ธงชาติสิงคโปร์
(กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1969)
แพ้สูงสุด
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 10–0 พม่า ธงชาติประเทศพม่า
(ชิบะ ประเทศญี่ปุ่น; 28 พฤษภาคม ค.ศ. 2021)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 1968)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1968)
เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 2008)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (2008, 2010)
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
เข้าร่วม12 (ครั้งแรกใน 1996)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่ 4 (2004, 2016)

ในช่วงทศวรรษที่ 60-70 พม่าถือว่าเป็นทีมฟุตบอลระดับแถวหน้าของอาเซียนและทีมหนึ่งในระดับเอเชีย โดยได้แชมป์เซียปเกมส์ (กีฬาแหลมทอง) ถึง 5 สมัย แชมป์เอเชียนเกมส์ถึง 2 สมัย อีกทั้งยังเคยเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก 1972 ที่นครมิวนิก ประเทศเยอรมนีตะวันตก แต่หลังจากปี ค.ศ. 1976 เป็นต้นไปแล้ว พม่าก็เริ่มถดถอยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีปัญหาจากการรับจ้างล้มฟุตบอล รวมถึงทางรัฐบาลพม่าเองไม่ยอมเปิดให้ทีมตัวเองออกแข่งขันนอกประเทศเป็นเวลานานถึง 10 ปีด้วยกัน[4]

ผลงาน

แก้
  • 1930 - 1938 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1950 - ถอนตัว
  • 1954 - 1990 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1994 - ถอนตัว
  • 1998 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2002 - ถอนตัว
  • 2006 - ถูกตัดสิทธิ์เนื่องจากถอนตัวใน 2002
  • 2010 - 2026 - ไม่ได้ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1956 - 1964 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1968 - รองชนะเลิศ
  • 1972 - 1992 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1996 - 2004 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 2007 - ไม่ได้เข้าร่วม
  • 2010 - 2023 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • 1996 - 2002 - รอบแรก
  • 2004 - รอบรองชนะเลิศ
  • 2007 - รอบแรก
  • 2016 - รอบรองชนะเลิศ
  • 2018 - 2022 - รอบแรก

อื่น ๆ

แก้
  • เอเชียนเกมส์ - เหรียญทอง 2 ครั้ง (1966, 1970) และ เหรียญทองแดง 1 ครั้ง (1954)
  • ซีเกมส์
    • เหรียญทอง (1965, 1967, 1969, 1971, 1973)
    • เหรียญเงิน (2007, 2015)

นักเตะชุดปัจจุบัน

แก้

รายชื่อผู้เล่น 21 คน สำหรับการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 ระหว่างวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564 - 1 มกราคม พ.ศ. 2565[5]

จำนวนนัดที่ลงเล่นให้ทีมชาติและจำนวนประตูที่ยิงได้นับถึงวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 หลังแข่งขันกับ   อินโดนีเซีย

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK Pyae Lyan Aung (1993-05-11) 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 (31 ปี) 1 0   ยะดะนาโบน
18 1GK Myo Min Latt (1995-02-20) 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1995 (29 ปี) 2 0   ชานยูไนเต็ด
1GK Soe Arkar (1997-08-01) 1 สิงหาคม ค.ศ. 1997 (27 ปี) 0 0   มะกเว

2 2DF Nyein Chan (1991-06-02) 2 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (33 ปี) 4 0   ชานยูไนเต็ด
3 2DF Zaw Ye Tun (1994-06-28) 28 มิถุนายน ค.ศ. 1994 (30 ปี) 4 0   ยะดะนาโบน
4 2DF เดวิดทาน (1988-05-13) 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 (36 ปี) 68 4   ชานยูไนเต็ด
5 2DF Win Moe Kyaw (1996-10-09) 9 ตุลาคม ค.ศ. 1996 (27 ปี) 5 0   หงสาวดียูไนเต็ด
17 2DF Hein Phyo Win (1998-09-19) 19 กันยายน ค.ศ. 1998 (25 ปี) 2 0   ชานยูไนเต็ด
22 2DF Aung Naing Win (1997-06-01) 1 มิถุนายน ค.ศ. 1997 (27 ปี) 0 0   อิรวดียูไนเต็ด
25 2DF Lar Din Maw Yar (1992-08-06) 6 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (32 ปี) 22 0   หงสาวดียูไนเต็ด
27 2DF Aung Wunna Soe (2000-04-19) 19 เมษายน ค.ศ. 2000 (24 ปี) 0 0   ยะดะนาโบน
2DF Ye Min Thu (1998-02-18) 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 (26 ปี) 3 0   ชานยูไนเต็ด

6 3MF Hlaing Bo Bo (1996-07-08) 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1996 (28 ปี) 34 7
7 3MF Lwin Moe Aung (1999-12-10) 10 ธันวาคม ค.ศ. 1999 (24 ปี) 14 0   ย่างกุ้งยูไนเต็ด
8 3MF Maung Maung Win (1990-05-08) 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 (34 ปี) 6 0   ย่างกุ้งยูไนเต็ด
10 3MF Yan Naing Oo (1996-03-31) 31 มีนาคม ค.ศ. 1996 (28 ปี) 27 1   ย่างกุ้งยูไนเต็ด
11 3MF Maung Maung Lwin (1995-06-18) 18 มิถุนายน ค.ศ. 1995 (29 ปี) 38 7   ย่างกุ้งยูไนเต็ด
14 3MF Htet Phyo Wai (2000-01-21) 21 มกราคม ค.ศ. 2000 (24 ปี) 9 1   ชานยูไนเต็ด
16 3MF Myat Kaung Khant (2000-07-15) 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2000 (24 ปี) 3 1
19 3MF Nay Moe Naing (1997-12-13) 13 ธันวาคม ค.ศ. 1997 (26 ปี) 0 0   หงสาวดียูไนเต็ด
30 3MF Hein Htet Aung (2001-10-05) 5 ตุลาคม ค.ศ. 2001 (22 ปี) 0 0   พีเคเอ็นเอส
3MF Myo Ko Tun (1995-03-09) 9 มีนาคม ค.ศ. 1995 (29 ปี) 20 0   ยะดะนาโบน

9 4FW Than Paing (1996-12-06) 6 ธันวาคม ค.ศ. 1996 (27 ปี) 25 1   ชานยูไนเต็ด
12 4FW Win Naing Tun (2000-05-03) 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 (24 ปี) 2 0   ย่างกุ้งยูไนเต็ด
13 4FW Aung Kaung Mann (1998-02-18) 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 (26 ปี) 1 0   ศรีปาหัง
20 4FW ซวน ลัม มัง (1994-07-28) 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 (30 ปี) 28 7
21 4FW Kaung Htet Soe (1997-09-01) 1 กันยายน ค.ศ. 1997 (27 ปี) 0 0   ย่างกุ้งยูไนเต็ด

อ้างอิง

แก้
  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
  2. "Myanmar matches, ratings and points exchanged". World Football Elo Ratings: Myanmar. สืบค้นเมื่อ 24 November 2016.
  3. FIFA.com. "Member Association - Myanmar - FIFA.com". www.fifa.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-05-12. [ลิงก์เสีย]
  4. "ประวัติศาสตร์'ลูกหนังพม่า'". คมชัดลึก. 18 June 2015. สืบค้นเมื่อ 18 June 2015.
  5. "Provisional Singapore squad announced for AFF Suzuki Cup 2020".

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้