ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2020 ตามชื่อของผู้สนับสนุน เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนครั้งที่ 13 จัดโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นครั้งที่ 7 ภายใต้ชื่อ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ[1]
เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2020 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | สิงคโปร์ |
วันที่ | 5 ธันวาคม 2564 - 1 มกราคม 2565 |
ทีม | 10 |
สถานที่ | 2 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ไทย (สมัยที่ 6th) |
รองชนะเลิศ | อินโดนีเซีย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 26 |
จำนวนประตู | 88 (3.38 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 90,424 (3,478 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ซาฟาวี ราซิด เบียนเวนิโด มาราญอน ชนาธิป สรงกระสินธ์ ธีรศิลป์ แดงดา (คนละ 4 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ชนาธิป สรงกระสินธ์ |
รางวัลแฟร์เพลย์ | อินโดนีเซีย |
เดิมฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 จะจัดการแข่งขันในวันที่ 23 พฤศจิกายน - 31 ธันวาคม ค.ศ. 2020 แต่การแข่งขันได้ถูกเลื่อนการแข่งขันเนื่องจากสถานการณ์การระบาดทั่วของโควิด-19 โดยจะมีการกำหนดวันแข่งขันอีกครั้งในภายหลังเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ตารางการแข่งขันทับซ้อนกับฟุตบอลโลก 2022 และเอเชียนคัพ 2023 รอบคัดเลือก ซึ่งมีทีมชาติจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บางทีมที่คาดว่าจะลงแข่ง[2] ซึ่งในวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 เอเอฟเอฟได้ประกาศว่าฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 จะถูกเลื่อนออกไปแข่งขันในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ค.ศ. 2021 เนื่องจากการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาที่ยังทวีความรุนแรงมากขึ้น[3] และเลื่อนออกไปอีกครั้ง โดยได้ข้อสรุปให้มีกำหนดแข่งขันตั้งแต่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 2021 ถึงวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2022[4] โดยจะจับฉลากแบ่งสายในวันที่ 21 กันยายน 2021[5]
ทีมชาติเวียดนาม คือทีมแชมป์เก่าของรายการนี้[6] แต่ไม่สามารถป้องกันตำแหน่งได้หลังจากแพ้ทีมชาติไทยในรอบรองชนะเลิศด้วยผลรวมสองนัด 0–2 ทีมชาติไทยผ่านเข้ารอบไปพบกับทีมชาติอินโดนีเซียและสามารถเอาชนะได้ด้วยผลรวมสองนัด 6–2 ทำให้ทีมชาติไทยได้ตำแหน่งชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนเป็นสมัยที่หก
รอบคัดเลือก
แก้เก้าทีมผ่านเข้าแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนรอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ โดยถูกแยกออกเป็นโถตามผลงานในการแข่งขันสองครั้งล่าสุด บรูไนและติมอร์-เลสเตมีกำหนดที่จะแข่งขันในรอบคัดเลือกเพื่อหาทีมผู้ชนะเข้ารอบสุดท้ายเป็นทีมที่สิบ แต่บรูไนถอนตัวออกไปเนื่องจากการระบาดของโควิด-19[7] ในขณะที่ออสเตรเลียซึ่งเป็นสมาชิกตั้งแต่ ค.ศ. 2013 ไม่ได้เข้าร่วมรายการนี้
เนื่องจากไทยและอินโดนีเซียไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดโดยองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA) ทั้งสองทีมจะไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ธงชาติเป็นสัญลักษณ์ของทีมในการแข่งขัน[8][9]
ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน
แก้ประเทศ | จำนวนครั้งที่เข้าร่วม | ผลงานที่ดีที่สุด |
---|---|---|
กัมพูชา | 8 | รอบแบ่งกลุ่ม (1996, 2000, 2002, 2004, 2008, 2016, 2018) |
อินโดนีเซีย[a] | 13 | รองชนะเลิศ (2000, 2002, 2004, 2010, 2016) |
ลาว | 12 | รอบแบ่งกลุ่ม (1996 ถึง 2014, 2018) |
มาเลเซีย | 13 | ชนะเลิศ (2010) |
พม่า | 13 | อันดับ 4 (2004), รอบรองชนะเลิศ (2016) |
ฟิลิปปินส์ | 12 | รอบรองชนะเลิศ (2010, 2012, 2014, 2018) |
สิงคโปร์ | 13 | ชนะเลิศ (1998, 2004, 2007, 2012) |
ไทย[a] | 13 | ชนะเลิศ (1996, 2000, 2002, 2014, 2016) |
ติมอร์-เลสเต | 3 | รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2018) |
เวียดนาม | 13 | ชนะเลิศ (2008, 2018) |
- หมายเหตุ
- ↑ 1.0 1.1 เนื่องจากไทยและอินโดนีเซียไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดโดยองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA) ทั้งสองทีมจะไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ธงชาติเป็นสัญลักษณ์ของทีมในการแข่งขัน[10][11] การสั่งห้ามมีผลตั้งแต่เดือนตุลาคม ค.ศ. 2021[12] ทีมชาติไทยใช้ตราสัญลักษณ์ประจำทีมชาติในขณะที่ทีมชาติอินโดนีเซียใช้ตราแผ่นดิน (ตราพญาครุฑปัญจศีล)
การจับสลาก
แก้การจับสลากแบ่งสายฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2564
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 | โถ 5 |
---|---|---|---|---|
เวียดนาม (แชมป์เก่า) ไทย |
มาเลเซีย พม่า |
ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย |
สิงคโปร์ กัมพูชา |
ลาว ติมอร์-เลสเต (ผู้ชนะรอบคัดเลือก) |
ผู้เล่น
แก้สนามแข่งขัน
แก้การแข่งขันจัดขึ้นที่ประเทศสิงคโปร์โดยใช้สนามแข่งขันสองแห่ง ได้แก่สนามกีฬาแห่งชาติสิงคโปร์ในเขตกัลลังและสนามกีฬาปี้ชานในเขตปี้ชาน
กัลลัง | ปี้ชาน |
---|---|
สนามกีฬาแห่งชาติ | สนามกีฬาปี้ชาน |
ความจุ: 55,000 | ความจุ: 6,254 |
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้กลุ่ม เอ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 4 | 4 | 0 | 0 | 10 | 1 | +9 | 12 | รอบแพ้คัดออก |
2 | สิงคโปร์ | 4 | 3 | 0 | 1 | 7 | 3 | +4 | 9 | |
3 | ฟิลิปปินส์ | 4 | 2 | 0 | 2 | 12 | 6 | +6 | 6 | |
4 | พม่า | 4 | 1 | 0 | 3 | 4 | 10 | −6 | 3 | |
5 | ติมอร์-เลสเต | 4 | 0 | 0 | 4 | 0 | 13 | −13 | 0 |
สิงคโปร์ | 3–0 | พม่า |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
ฟิลิปปินส์ | 1–2 | ไทย[a] |
---|---|---|
Reichelt 57' | รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
ธีรศิลป์ 26', 78' (ลูกโทษ) |
พม่า | 2–3 | ฟิลิปปินส์ |
---|---|---|
เทะพโย่ไว 74', 86' | รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
Marañón 16', 19', 45' |
กลุ่ม บี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อินโดนีเซีย | 4 | 3 | 1 | 0 | 13 | 4 | +9 | 10 | รอบแพ้คัดออก |
2 | เวียดนาม | 4 | 3 | 1 | 0 | 9 | 0 | +9 | 10 | |
3 | มาเลเซีย | 4 | 2 | 0 | 2 | 8 | 8 | 0 | 6 | |
4 | กัมพูชา | 4 | 1 | 0 | 3 | 6 | 11 | −5 | 3 | |
5 | ลาว | 4 | 0 | 0 | 4 | 1 | 14 | −13 | 0 |
กัมพูชา | 1–3 | มาเลเซีย |
---|---|---|
Rosib 90' (ลูกโทษ) | รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
ซาฟาวี 23' (ลูกโทษ) อัคยาร์ 61' โกกีเล็ซวารัน 78' |
มาเลเซีย | 4–0 | ลาว |
---|---|---|
ซาฟาวี 7', 34', 80' ชะฮ์รุล 78' |
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
อินโดนีเซีย [b] | 4–2 | กัมพูชา |
---|---|---|
อีรียันโต 5', 33' ดีมัซ 17' รูมากีก 54' |
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
Safy 37' Mony Udom 60' |
เวียดนาม | 3–0 | มาเลเซีย |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
เวียดนาม | 4–0 | กัมพูชา |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
รอบแพ้คัดออก
แก้สายการแข่งขัน
แก้รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
เอ2 | สิงคโปร์ | 1 | 2 | 3 | ||||||||
บี1 | อินโดนีเซีย[b] (ต่อเวลา) |
1 | 4 | 5 | ||||||||
บี1 | อินโดนีเซีย[b] | 0 | 2 | 2 | ||||||||
เอ1 | ไทย[a] | 4 | 2 | 6 | ||||||||
บี2 | เวียดนาม | 0 | 0 | 0 | ||||||||
เอ1 | ไทย[a] | 2 | 0 | 2 |
รอบรองชนะเลิศ
แก้- เลกแรก
- เลกที่สอง
อินโดนีเซีย [b] | 4–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | สิงคโปร์ |
---|---|---|
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
รวมผลสองนัด อินโดนีเซีย ชนะ 5–3
รวมผลสองนัด ไทย ชนะ 2–0
รอบชิงชนะเลิศ
แก้ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
อินโดนีเซีย [b] | 2–6 | ไทย[a] | 0–4 | 2–2 |
เลกแรก
แก้อินโดนีเซีย [b] | 0–4 | ไทย[a] |
---|---|---|
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) | ชนาธิป 2', 52' สุภโชค 67' บดินทร์ 83' |
เลกที่สอง
แก้ไทย [a] | 2–2 | อินโดนีเซีย[b] |
---|---|---|
อดิศักดิ์ 54' สารัช 56' |
รายงาน (เอเอฟเอฟเอสแซด) | กัมบูวายา 7' เอกี 80' |
สถิติ
แก้ทีมชนะเลิศ
แก้ชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 |
---|
ไทย สมัยที่ 6 |
รางวัล
แก้รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า | รางวัลนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยม | รางวัลดาวซัลโว | รางวัลแฟร์เพลย์ |
---|---|---|---|
ชนาธิป สรงกระสินธ์ | ปราตามา อาร์ฮัน | ซาฟาวี ราซิด เบียนเวนิโด มาราญอน ชนาธิป สรงกระสินธ์ ธีรศิลป์ แดงดา |
อินโดนีเซีย |
ผู้ทำประตู
แก้มีการทำประตู 88 ประตู จากการแข่งขัน 26 นัด เฉลี่ย 3.38 ประตูต่อนัด
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
- Prak Mony Udom
- Sath Rosib
- Sieng Chanthea
- Yue Safy
- ราไม รูมากีก
- ริกกี กัมบูวายา
- อัซนาวี มังกูวาลัม
- เอ็ลกัน แบกก็อตต์
- กิดาวอน สุวันนี
- ชะฮ์รุล ซาอัด
- อัคยาร์ ราชิด
- ต้านไพง์
- มองมองลวีน
- Ángel Guirado
- เควิน อินเกรโซ
- มาร์ติน สตูเบิล
- เยสเปอร์ นีโฮล์ม
- ชะฮ์ดัน ซูไลมัน
- ชากีร์ ฮัมซะฮ์
- ซง อึย-ย็อง
- ซาฟูวัน บาฮารูดิน
- ฟาริซ รัมลี
- อาดัม ซวันดี
- ฮาริซซ์ ฮารุน
- บดินทร์ ผาลา
- ปฐมพล เจริญรัตนาภิรมย์
- วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ
- ศุภชัย ใจเด็ด
- สารัช อยู่เย็น
- อดิศักดิ์ ไกรษร
- เอเลียส ดอเลาะ
- บู่ย เตี๊ยน สุง
- ฟาน วัน ดึ๊ก
- เหงียน ฮหว่าง ดึ๊ก
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- ชาวัล อานัวร์ (ในนัดที่พบกับอินโดนีเซีย)
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
ระเบียบวินัย
แก้ในการแข่งขันรอบสุดท้าย ผู้เล่นที่ได้รับใบแดง (โดยตรงหรือใบเหลืองสองใบในนัดเดียวกัน) หรือใบเหลืองสองใบจากการแข่งขันสองนัดจะถูกสั่งห้ามลงแข่งขันในนัดถัดไป
ตารางอันดับทีมในการแข่งขัน
แก้ตารางนี้จะแสดงอันดับและคะแนนรวมของทุกทีมตลอดการแข่งขัน
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | สรุปผลงาน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 8 | 6 | 2 | 0 | 18 | 3 | +15 | 20 | ชนะเลิศ |
2 | อินโดนีเซีย | 8 | 4 | 3 | 1 | 20 | 13 | +7 | 15 | รองชนะเลิศ |
3 | เวียดนาม | 6 | 3 | 2 | 1 | 9 | 2 | +7 | 11 | เข้าถึงรอบรองชนะเลิศ |
4 | สิงคโปร์ | 6 | 3 | 1 | 2 | 10 | 8 | +2 | 10 | |
5 | ฟิลิปปินส์ | 4 | 2 | 0 | 2 | 12 | 6 | +6 | 6 | เข้าถึงรอบแบ่งกลุ่ม |
6 | มาเลเซีย | 4 | 2 | 0 | 2 | 8 | 8 | 0 | 6 | |
7 | กัมพูชา | 4 | 1 | 0 | 3 | 6 | 11 | −5 | 3 | |
8 | พม่า | 4 | 1 | 0 | 3 | 4 | 10 | −6 | 3 | |
9 | ลาว | 4 | 0 | 0 | 4 | 1 | 14 | −13 | 0 | |
10 | ติมอร์-เลสเต | 4 | 0 | 0 | 4 | 0 | 13 | −13 | 0 |
การตลาด
แก้ลูกบอล
แก้ลูกบอลอย่างเป็นทางการสำหรับ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2020 ใช้ ASEAN PULSE,[18] ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก วอริกซ์.[19]
ผู้สนับสนุน
แก้ผู้สนับสนุนหลัก | ผู้สนับสนุนอย่างเป็นทางการ | ผู้สนับสนุน |
---|---|---|
การถ่ายทอดสด
แก้สถานีถ่ายทอดสด เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2020 ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | ||||
---|---|---|---|---|
ประเทศ | สถานีเครือข่าย | สถานีโทรทัศน์ | สถานีวิทยุ | สตรีมมิง |
บรูไน | อาร์ทีบี | อาร์ทีบี อาเนกา | ||
กัมพูชา | Smart Axiata, FFC |
Hang Meas HDTV | ||
อินโดนีเซีย | เอ็มเอ็นซี มีเดีย, เอมเทค | อาร์ซีทีไอ, ไอนิวส์ (FTA), แชมเปียนส์ ทีวี (เพย์)[32] | — | RCTI+, Vision+, Vidio |
ลาว | Next Media | |||
มาเลเซีย | Astro, อาร์ทีเอ็ม | แอสโตร อารีนา, Sukan RTM | ||
พม่า | Next Media | |||
ฟิลิปปินส์ | TAP DMV | Premier Sport (เพย์) | TAP Go | |
สิงคโปร์ | มีเดียคอร์ป | meWATCH | ||
ไทย | บีบีทีวี | ช่อง 7 เอชดี | Bugaboo, AIS Play | |
ติมอร์-เลสเต | อาร์ทีทีแอล | ทีวีทีแอล | ||
เวียดนาม | วีทีวี, Next Media | วีทีวี5, วีทีวี6 | ||
สถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศระหว่างประเทศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 | ||||
HKCTV | — | |||
สถานีโทรทัศน์เอสบีเอส | เอสบีเอส, เอสบีเอส สปอร์ตส์ (แมตช์ที่มีทีมชาติเวียดนามเท่านั้น)[33] | — | ||
N/A = ไม่มีให้บริการ |
หมายเหตุ
แก้- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 เนื่องจากไทยไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดโดยองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA) จึงไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ธงชาติเป็นสัญลักษณ์ของทีมในการแข่งขัน[13] การสั่งห้ามมีผลตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564[14]
- ↑ 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 เนื่องจากอินโดนีเซียไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดโดยองค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA) จึงไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ธงชาติเป็นสัญลักษณ์ของทีมในการแข่งขัน[15] การสั่งห้ามมีผลตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564[16]
อ้างอิง
แก้- ↑ Ooi, Kin Fai (16 March 2020). "AFF Championship stays Suzuki for yet another edition". Goal.com. สืบค้นเมื่อ 18 May 2020.
- ↑ "ASEAN Football Federation sets dates for AFF Suzuki Cup 2020 – Reports". Fox Sport Asia. 2 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-03. สืบค้นเมื่อ 2 January 2020.
- ↑ del Carmen, Lorenzo (25 September 2020). "Suzuki Cup to take place in second quarter of 2021". Tiebreaker Times. สืบค้นเมื่อ 25 September 2020.
- ↑ สยามกีฬา: เอเอฟเอฟประกาศศึกซูซูกิคัพเลื่อนไปแข่งปลายปีหน้า
- ↑ ไทยรัฐ: "ทีมชาติไทย" เบากว่า "เวียดนาม" เจอสายแข็ง จับสลาก เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2020
- ↑ "AFF Cup 2020 to kick off on November 23". Nhan Dan. 30 December 2019. สืบค้นเมื่อ 2 January 2020.
- ↑ Aziz, Sazali Abdul (8 November 2021). "Football: Brunei pull out of Suzuki Cup; Timor-Leste join S'pore in Group A". The Straits Times (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 8 November 2021.
- ↑ "Thailand loses right to host tournaments". Bangkok Post. Bangkok Post Public Co. Ltd. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
The country has also been denied the right to display its national flag at any such events (international football events).
- ↑ "Chairman Of PSSI: Regarding The Flag At AFF 2020, We Will Follow Whatever The Decision Is". VOI - Waktunya Merevolusi Pemberitaan (ภาษาอังกฤษ). 24 November 2021. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
- ↑ "Thailand loses right to host tournaments". Bangkok Post. Bangkok Post Public Co. Ltd. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
The country has also been denied the right to display its national flag at any such events (international football events).
- ↑ "Chairman Of PSSI: Regarding The Flag At AFF 2020, We Will Follow Whatever The Decision Is". VOI – Waktunya Merevolusi Pemberitaan (ภาษาอังกฤษ). 24 November 2021. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
- ↑ "WADA confirms non-compliance of five Anti-Doping Organizations (7 October 2021)". World Anti-Doping Agency (ภาษาอังกฤษ). 7 October 2021. สืบค้นเมื่อ 4 December 2021.
- ↑ "Thailand loses right to host tournaments". Bangkok Post. Bangkok Post Public Co. Ltd. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
The country has also been denied the right to display its national flag at any such events (international football events).
- ↑ "WADA confirms non-compliance of five Anti-Doping Organizations (7 October 2021)". World Anti-Doping Agency (ภาษาอังกฤษ). 7 October 2021. สืบค้นเมื่อ 4 December 2021.
- ↑ "Chairman Of PSSI: Regarding The Flag At AFF 2020, We Will Follow Whatever The Decision Is". VOI - Waktunya Merevolusi Pemberitaan (ภาษาอังกฤษ). 24 November 2021. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
- ↑ "WADA confirms non-compliance of five Anti-Doping Organizations (7 October 2021)". World Anti-Doping Agency (ภาษาอังกฤษ). 7 October 2021. สืบค้นเมื่อ 4 December 2021.
- ↑ Piala Suzuki AFF 2020: Stadium Nasional Singapura Jadi Gelanggang Aksi Derbi Nusantara, Malaysia-Indonesia - vocketfc.com, November 23, 2021.
- ↑ "Warrix launches ASEAN PULSE, a soccer ball used for the AFF SUZUKI CUP 2020". Archyde. 11 August 2021. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ "Warrix partner AFF Suzuki Cup 2020 as official match ball and kit supplier". ASEAN Football Federation. 1 July 2020. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ 20.00 20.01 20.02 20.03 20.04 20.05 20.06 20.07 20.08 20.09 20.10 20.11 20.12 "AFF Suzuki Cup 2020 Sponsors". AFF Suzuki Cup 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ "SUZUKI MOTOR CORPORATION SECURES SEVENTH AFF CHAMPIONSHIP". AFF Suzuki Cup 2020. 16 March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-22. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ "OPPO TO MAKE ITS AFF SUZUKI CUP SPONSORSHIP DEBUT". AFF Suzuki Cup 2020. 14 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ "CASIO UNVEILED AS THE OFFICIAL TIMEKEEPER OF THE AFF SUZUKI CUP 2020". AFF Suzuki Cup 2020. 7 October 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ "MIDEA ANNOUNCES 3RD SPONSORSHIP OF 2020 AFF SUZUKI CUP". AFF Suzuki Cup 2020. 30 September 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ "YANMAR COMES ON BOARD THE AFF SUZUKI CUP 2020 AS OFFICIAL SPONSOR". AFF Suzuki Cup 2020. 9 June 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 5 December 2021.
- ↑ "FUJI ELECTRIC JOINS AFF SUZUKI CUP 2020 AS OFFICIAL SUPPORTER". AFF Suzuki Cup 2020. 21 December 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 9 December 2021.
- ↑ "HERBALIFE BECOMES AN OFFICIAL SUPPORTER OF THE AFF SUZUKI CUP 2020". AFF Suzuki Cup 2020. 7 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ "JINRO ON BOARD THE AFF SUZUKI CUP 2020 AS OFFICIAL SUPPORTER". AFF Suzuki Cup 2020. 11 November 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ "Mitsubishi Electric proudly supports the AFF SUZUKI CUP 2020". Mitsubishi Electric. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-05. สืบค้นเมื่อ 5 December 2021.
- ↑ "PINACO ANNOUNCED AS THE OFFICIAL SPONSOR FOR THE AFF SUZUKI CUP 2020". AFF Suzuki Cup 2020. 19 May 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-01. สืบค้นเมื่อ 5 December 2021.
- ↑ "TMGM BECOMES THE OFFICIAL ONLINE TRADING PLATFORM OF THE AFF SUZUKI CUP 2020". AFF Suzuki Cup 2020. 8 November 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-02. สืบค้นเมื่อ 2 December 2021.
- ↑ "Jadwal Siaran Langsung AFF Suzuki Cup 2020 Live RCTI, Laga Seru Timnas Indonesia vs Malaysia". Tribunbatam.id (ภาษาอินโดนีเซีย). 2021-12-01. สืบค้นเมื่อ 2021-12-04.
- ↑ "2020 AFF 스즈키컵". SBS (ภาษาเกาหลี). สืบค้นเมื่อ 2021-11-29.