ฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเต
ฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเต (โปรตุเกส: Seleção Timorense de Futebol) เป็นทีมฟุตบอลระดับทีมชาติจากประเทศติมอร์-เลสเตซึ่งยังไม่เคยประสบความสำเร็จในรายการระดับนานาชาติใด ๆ เลย ทีมชาติติมอร์-เลสเตเข้าเป็นสมาชิกของฟีฟ่าเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 2005[3] และเปิดตัวระดับนานาชาติครั้งแรกในการแข่งขันเอเชียนคัพรอบแบ่งกลุ่มเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2005 โดยแพ้ศรีลังกา 3-2 และแพ้ไต้หวัน 3-0
ฉายา | Lafaek (จระเข้) O Sol Nascente (พระอาทิตย์ขึ้น) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลติมอร์-เลสเต | ||
สมาพันธ์ย่อย | เอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (เอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Gopalkrishnan Ramasamy | ||
กัปตัน | Armindo de Almeida | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | อังกิซู บาร์โบซา (30) | ||
ทำประตูสูงสุด | Rufino Gama (7) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาแห่งชาติติมอร์-เลสเต | ||
รหัสฟีฟ่า | TLS | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 196 2 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 146 (มิถุนายน ค.ศ. 2015) | ||
อันดับต่ำสุด | 206 (ตุลาคม ค.ศ. 2012) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
ศรีลังกา 3–2 ติมอร์-เลสเต (โคลอมโบ ประเทศศรีลังกา; 21 มีนาคม ค.ศ. 2003)[2] | |||
ชนะสูงสุด | |||
กัมพูชา 1–5 ติมอร์-เลสเต (ย่างกุ้ง ประเทศพม่า; 5 ตุลาคม ค.ศ. 2012) | |||
แพ้สูงสุด | |||
ติมอร์-เลสเต 0–10 ซาอุดีอาระเบีย (ดิลี ประเทศติมอร์-เลสเต; 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015) | |||
AFC Solidarity Cup | |||
เข้าร่วม | 1 (ครั้งแรกใน 2016) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบกลุ่ม (2016) | ||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 2004) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบกลุ่ม (2004, 2018, 2020) |
ผลงาน
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
- ↑ "East Timor matches, ratings and points exchanged". World Football Elo Ratings: East Timor. สืบค้นเมื่อ 24 November 2016.
- ↑ "Member Association – Timor-Leste". FIFA.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 June 2007. สืบค้นเมื่อ 2018-09-04.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- ข้อมูลของ ฟุตบอลทีมชาติติมอร์-เลสเต ที่ ซ็อกเกอร์เวย์