สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 10 คน จากทั้งหมด 350 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์แก้ไข
หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดอุบลราชธานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ นายเลียง ไชยกาล และ นายเนย สุจิมา
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 8 สมัย ได้แก่ นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ และนายตุ่น จินตะเวช
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดอุบลราชธานี คือ นางอรพินท์ ไชยกาล (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2492)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- จินตะเวช (5 คน) ได้แก่ นายตุ่น จินตะเวช นายปัญญา จินตะเวช นายศักดิ์ชัย จินตะเวช นางอุดร จินตะเวช และ นายประภูศักดิ์ จินตะเวช
เขตการเลือกตั้งแก้ไข
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตแก้ไข
ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476แก้ไข
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 |
นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ |
นายเลียง ไชยกาล |
นายเนย สุจิมา |
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489แก้ไข
เขต | ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 | ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 | ชุดที่ 4 เดือน มกราคม พ.ศ. 2489 | ชุดที่ 4 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม |
1 | นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ | นายฟอง สิทธิธรรม | นายเลียง ไชยกาล | นายน้อม วนรมย์ |
2 | นายทิม ภูริพัฒน์ | นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ | นายฟอง สิทธิธรรม | นายสุวิชช์ จิตตะยะโสธร |
3 | นายฟอง สิทธิธรรม | นายเลียง ไชยกาล | นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ | นายนาตร มนตเสวี |
4 | นายเลียง ไชยกาล | ขุนบุรัสการกิติคดี (เสียชีวิต) นายบุญมา เกษมวัน (แทนขุนบุรัสการกิติคดี) |
– | นายบุญมา เกษมวัน นายสุดใจ ศุภสร |
ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492แก้ไข
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายผดุง โกศัลวัตร |
นายฟอง สิทธิธรรม | ||
นายเลียง ไชยกาล | ||
นายยงยุทธ พึ่งภพ | ||
พ.ศ. 2492 | นางอรพินท์ ไชยกาล (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
นายทองพูน อาจทะขันธ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495แก้ไข
ลำดับ | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 |
1 | นายเลียง ไชยกาล |
2 | นายยงยุทธ พึ่งภพ |
3 | นางอรพินท์ ไชยกาล |
4 | นายดิเรก มณีรัตน์ |
5 | นายทิม ภูริพัฒน์ |
6 | นายผัน บุญชิต |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500แก้ไข
- พรรคเศรษฐกร
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ชุดที่ 9 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
นายทิม ภูริพัฒน์ | นายทิม ภูริพัฒน์ |
นายฟอง สิทธิธรรม | |
นายกลิ่น ปลั่งนิล | นายวีระ รมยะรูป |
นายทองพูน อาจธะขันธ์ | นางสาวอรอินทร์ ภูริพัฒน์ |
นายเจียม โชติรัษฎ์ | นายนาถ เงินทาบ |
นายเลียง ไชยกาล | นายเลียง ไชยกาล |
นายผัน บุญชิต | นายผัน บุญชิต |
- | นางอรพินท์ ไชยกาล (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายยงยุทธ พึ่งภพ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายดิเรก มณีรัตน์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายกลิ่น ปลั่งนิล (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายฟอง การินทร์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | ขุนวรวาทพิสุทธิ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายสุวิชช์ จิตตะยะโสธร (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512แก้ไข
- พรรคแนวประชาธิปไตย
- พรรคอิสระ
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายเสรี สุชาตะประคัลภ์ |
2 | นายฟอง สิทธิธรรม |
3 | นายทองมาก จันทะลือ |
4 | นายยิ่ง สิทธิธรรม |
5 | นายสมนึก ทองรุ่งโรจน์ |
6 | นายวิชัย โกมลวิชญ์ |
7 | นายบุญเย็น วอทอง |
8 | นายวิชัย เสวะมาตย์ |
9 | นายประทีป ทองคำใส |
ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519แก้ไข
- พรรคกิจสังคม
- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธรรม (พ.ศ. 2517)
- พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 |
1 | นายประวิทย์ ศรีธัญรัตน์ | นายเฉลิม สุขเสริม |
นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ | นายโกศล มารมย์ | |
นายประทีป ทองคำใส | นายไพฑูรย์ โหตระไวศยะ | |
2 | นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ | ร้อยตำรวจโทณรงค์ เทวคุปต์ |
นายเพียร พุ่มจันทร์ | นายสุทวิช สุพรรณ | |
นายสมาน งามสนิท | นายเชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ | |
3 | นายสุทัศน์ เงินหมื่น | นายประสิทธิ์ จันทวารา |
นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ | ||
นายวิชัย เสวะมาตย์ | นายยิ่ง สิทธิธรรม |
ชุดที่ 13; พ.ศ. 2522แก้ไข
เขต | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 |
1 | นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช |
นายไพฑูรย์ โหตระไวศยะ (เสียชีวิต) | |
นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (แทนนายไพฑูรย์) | |
พันตำรวจตรี ยุทธนา พรสวรรค์ | |
2 | ร้อยตำรวจโท ณรงค์ เทวคุปต์ |
นายผัน บุญชิต | |
นายเชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ | |
3 | นายวารินทร์ ศรีแย้ม |
นายประสิทธิ์ จันทวารา | |
4 | นายดุสิต โสภิตชา |
นายไชยพจน์ ภู่กำชัย |
ชุดที่ 14; พ.ศ. 2526แก้ไข
เขต | ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 |
1 | นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ |
นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ | |
นายมนต์ชัย โควสุรัตน์ | |
2 | นายผัน บุญชิต |
นายตุ่น จินตะเวช | |
นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ | |
3 | นายธนา เมตตาริกานนท์ |
นายสุทัศน์ เงินหมื่น | |
นายสุวัฒน์ ศิริอำนาจ | |
4 | นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ |
นายสมนึก ทองรุ่งโรจน์ |
ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535แก้ไข
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531) → พรรคชาติไทย
- พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคพลังธรรม
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต | ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 | ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 | ชุดที่ 17 เดือน มีนาคม 2535 | ชุดที่ 18 เดือน กันยายน 2535 |
1 | นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ | นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ | นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ | |
นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ | นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ | นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ | ||
นายวิทยา ขันอาสา | นายวิทยา ขันอาสา | นายธำรงค์ ไทยมงคล | นายวิทยา ขันอาสา | |
2 | นายผัน บุญชิต | นายตุ่น จินตะเวช | นายตุ่น จินตะเวช | นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ |
นายอิสสระ สมชัย | นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ | นายอิสสระ สมชัย | นายอิสสระ สมชัย | |
นายดำรงค์ บุญชิต | นายปัญญา จินตะเวช | นายปัญญา จินตะเวช | นายโอวาท จุลโคตร | |
3 | นายสนิท จันทรวงศ์ | นายชัยพร ทองประเสริฐ | นายสนิท จันทรวงศ์ | |
นายธีระชัย ศิริขันธ์ | นายสุทัศน์ เงินหมื่น | |||
นายธนา เมตตาริกานนท์ | นายวิฑูรย์ นามบุตร | |||
4 | นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ | พันตรี พูนศักดิ์ พสุนนท์ | นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ | |
นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ | นายสุรศักดิ์ บัวขาว | นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ | นายสุรศักดิ์ บัวขาว | |
นายดุสิต โสภิตชา | นายดุสิต โสภิตชา |
- สำหรับการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 เขตเลือกตั้งที่ 3 เป็นของจังหวัดอำนาจเจริญ
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539แก้ไข
เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายเกรียง กัลป์ตินันท์ | นายเกรียง กัลป์ตินันท์ |
นายธำรงค์ ไทยมงคล | นายสุพล ฟองงาม | |
นายตุ่น จินตะเวช | ||
2 | นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ | |
นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช | นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ | |
นายปัญญา จินตะเวช | ||
3 | นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ | |
นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ | นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ | |
นายอิสสระ สมชัย | ||
4 | นายวิฑูรย์ นามบุตร | |
นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ | นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548แก้ไข
เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายเกรียง กัลป์ตินันท์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายเกรียง กัลป์ตินันท์ |
2 | นายสมบัติ รัตโน ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายสมบัติ รัตโน |
3 | นายวิฑูรย์ นามบุตร | นายวิฑูรย์ นามบุตร ( / เลือกตั้งใหม่) |
4 | นายสุพล ฟองงาม ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายสุพล ฟองงาม |
5 | นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ | นายรัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ |
6 | นายสิทธิชัย โควสุรัตน์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายอุดร ทองประเสริฐ |
7 | นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ | |
8 | นายพูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ | นายอิสสระ สมชัย |
9 | นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์ | |
10 | นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ | นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ |
นายศักดิ์ชัย จินตะเวช (แทนนายกิตติพงษ์ / / ) | ||
นายวิทยา บันทุปา (แทนนายศักดิ์ชัย / ) | ||
นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ (แทนนายวิทยา) | ||
11 | นายชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ | นายตุ่น จินตะเวช |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550แก้ไข
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคชาติไทย → พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคเพื่อแผ่นดิน
- พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ | |
นายวุฒิพงษ์ นามบุตร | ||
นายศุภชัย ศรีหล้า | ||
2 | นายสุทธิชัย จรูญเนตร | |
นายรัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นายอุดร ทองประเสริฐ (แทนนายรัฐกิตต์) | |
นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ | ||
3 | นายตุ่น จินตะเวช | |
นายศักดิ์ชัย จินตะเวช (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นางอุดร จินตะเวช (แทนนายศักดิ์ชัย) | |
นายสุชาติ ตันติวณิชชานนท์ | ||
4 | นายสุพล ฟองงาม | |
นายอิสสระ สมชัย |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562แก้ไข
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายวรสิทธิ์ กัลป์ตินันท์ | |
2 | นายศุภชัย ศรีหล้า | นายวุฒิพงษ์ นามบุตร |
3 | นายวุฒิพงษ์ นามบุตร | นางสาวกิตติ์ธัญญา วาจาดี |
4 | นายสุพล ฟองงาม | นายเอกชัย ทรงอำนาจเจริญ |
5 | นายสุทธิชัย จรูญเนตร | นายรัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน์ |
6 | นายพิสิษฐ์ สันตพันธุ์ | นายธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์ |
7 | นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ | |
8 | นางสาวบุณย์ธิดา สมชัย | |
9 | นายปัญญา จินตะเวช | นายประภูศักดิ์ จินตะเวช |
10 | นายสมคิด เชื้อคง | |
11 | นายตุ่น จินตะเวช | ยุบเขต 11 |
รูปภาพแก้ไข
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งที่แต่ละจังหวัดจะพึงมี และจำนวนเขตเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 136 (10 ก): 2. 24 Jan 2019.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 Archived 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 Archived 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 Archived 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!!
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดอุบลราชธานี Archived 2012-07-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน