การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 20[1] จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยสาเหตุมาจากที่ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศยุบสภา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543[2] นับว่าเป็น การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในระบบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ซึ่งแบ่งเป็นระบบบัญชีรายชื่อ 100 คน และแบบแบ่งเขตเลือกตั้งอีก 400 คน ภายใต้การกำกับดูแลและจัดการเลือกตั้งของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก
ลงทะเบียน42,759,001
ผู้ใช้สิทธิ69.94% (เพิ่มขึ้น 7.52 จุด)
  First party Second party Third party
 
Thaksin crop.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
ผู้นำ ทักษิณ ชินวัตร ชวน หลีกภัย บรรหาร ศิลปอาชา
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ผู้นำตั้งแต่ 14 กรกฎาคม 2541 26 มกราคม 2534 17 พฤษภาคม 2537
เขตของผู้นำ บัญชีรายชื่อ (#1) บัญชีรายชื่อ (#1) สุพรรณบุรี เขต 4
เลือกตั้งล่าสุด 123 ที่นั่ง, 31.78% 39 ที่นั่ง, 9.88%
ที่นั่งที่ชนะ 248 128 41
ที่นั่งเปลี่ยน พรรคใหม่ เพิ่มขึ้น 5 เพิ่มขึ้น 2
คะแนนเสียง 11,634,495 7,610,789 1,516,192
% 40.64% 26.58% 5.23%
%เปลี่ยน พรรคใหม่ ลดลง 5.92 จุด ลดลง 4.65 จุด

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Korn Dabbaransi 2023.jpg
ประจวบ ไชยสาส์น.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ กร ทัพพะรังสี ประจวบ ไชยสาส์น
พรรค ความหวังใหม่ ชาติพัฒนา เสรีธรรม
ผู้นำตั้งแต่ 16 ตุลาคม 2533 30 ธันวาคม 2541 15 กันยายน 2543
เขตของผู้นำ บัญชีรายชื่อ (#1) บัญชีรายชื่อ (#1) บัญชีรายชื่อ (#1)
เลือกตั้งล่าสุด 125 ที่นั่ง, 29.14% 52 ที่นั่ง, 12.38% 4 ที่นั่ง, 1.24%
ที่นั่งที่ชนะ 36 29 14
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 89 ลดลง 23 เพิ่มขึ้น 10
คะแนนเสียง 1,996,227 1,752,981 821,736
% 6.89% 6.05% 2.82%
%เปลี่ยน ลดลง 22.25 จุด ลดลง 6.33 จุด เพิ่มขึ้น 1.58 จุด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
รหัสสี: ไทยรักไทย, ประชาธิปัตย์, ชาติไทย,   ความหวังใหม่,ชาติพัฒนา, อื่น ๆ
แต่ละจังหวัดอาจประกอบด้วยที่นั่งเดียวหรือหลายที่นั่งก็ได้ โดยสีที่ปรากฏนี้บ่งบอกถึงพรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในจังหวัดนั้น

องค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร หลังจากการเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

ว่าที่นายกรัฐมนตรี

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งในครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งครั้งแรกที่มีการพิจารณาเรื่องร้องเรียนผลการเลือกตั้ง ก่อนประกาศรับรอง และมีการประกาศให้จัดการเลือกตั้งใหม่ โดยในการรับรองผลการเลือกตั้งในรอบแรก มีการรับรองจำนวนทั้งสิ้น 338 คน และประกาศให้เลือกตั้งใหม่ 62 เขตเลือกตั้ง

การย้ายสังกัดพรรคการเมือง

แก้

ย้ายไปพรรคถิ่นไทย

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคเสรีธรรม

ย้ายไปพรรคชาติพัฒนา

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคประชาธิปัตย์

  • เรวัต สิรินุกุล สส.กาญจนบุรี

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคความหวังใหม่

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคราษฎร

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ยุบรวมกับพรรคความหวังใหม่

ย้ายไปพรรคไทยรักไทย

ย้ายไปพรรคชาติไทย

รูปแบบการเลือกตั้ง

แก้

ระบบบัญชีรายชื่อ

แก้
หมายเลข พรรคการเมือง[3]
1 พรรคเสรีประชาธิปไตย
2 พรรคชาวไทย
3 พรรคกสิกรไทย
4 พรรคนิติมหาชน
5 พรรคความหวังใหม่
6 พรรครักสามัคคี
7 พรรคไทยรักไทย
8 พรรคชาติประชาธิปไตย
9 พรรคชาติไทย
10 พรรคสันติภาพ
11 พรรคถิ่นไทย
12 พรรคพลังประชาชน
13 พรรคราษฎร
14 พรรคสังคมใหม่
15 พรรคเสรีธรรม
16 พรรคประชาธิปัตย์
17 พรรคอำนาจประชาชน
18 พรรคประชากรไทย
19 พรรคไท
20 พรรคก้าวหน้า
21 พรรคชาติพัฒนา
22 พรรคแรงงานไทย
23 พรรคเผ่าไทย
24 พรรคสังคมประชาธิปไตย
25 พรรคชีวิตที่ดีกว่า
26 พรรคพัฒนาสังคม
27 พรรคไทยช่วยไทย
28 พรรคไทยมหารัฐ
29 พรรคศรัทธาประชาชน
30 พรรควิถีไทย
31 พรรคไทยประชาธิปไตย
32 พรรคพลังธรรม
33 พรรคชาวนาพัฒนาประเทศ
34 พรรคกิจสังคม
35 พรรคไทเป็นไท
36 พรรคพลังเกษตรกร
37 พรรคสยาม

ผลการเลือกตั้ง

แก้

ผลอย่างเป็นทางการ

แก้
248
41
36
18
29
128
ไทยรักไทย
ชท.
ควม.
อื่นๆ
ชพน.
ประชาธิปัตย์
 •   ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
 
พรรค แบบแบ่งเขต แบบบัญชีรายชื่อ รวม
คะแนนเสียง % ที่นั่ง คะแนนเสียง % ที่นั่ง ที่นั่ง %
ไทยรักไทย 200 11,634,495 40.64% 48 248 49.6%
ประชาธิปัตย์ 97 7,610,789 26.58% 31 128 25.6%
ชาติไทย 35 1,523,807 5.32% 6 41 8.2%
ความหวังใหม่ 28 2,008,948 7.02% 8 36 7.2%
ชาติพัฒนา 22 1,755,476 6.13% 7 29 5.8%
เสรีธรรม 14 807,902 2.82% 0 14 2.8%
ราษฎร 2 356,831 1.25% 0 2 0.4%
ถิ่นไทย 1 604,049 2.11% 0 1 0.2%
กิจสังคม 1 44,926 0.16% 0 1 0.2%
อื่น ๆ 2,281,979 7.97%
คะแนนสมบูรณ์ 100% 400 28,629,202 100% 100 500 100%
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,002,083 3.35% 530,599 1.77%
คะแนนเสีย 2,992,081 10.01% 745,829 2.49%
จำนวนผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 29,904,940 69.94% 29,909,271 69.95%
จำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 42,759,001 42,759,001
ที่มา: คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ


หลังการเลือกตั้ง

แก้

คณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ดังต่อไปนี้

  • 29 มกราคม พ.ศ. 2544 มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ 62 เขต[4] หลังจากที่รับรอง สส.แบ่งเขตไป 338 คน
พรรค กทม. ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต้ รวม
พรรคไทยรักไทย 1 6 1 15 1 24
พรรคชาติพัฒนา - 1 1 8 - 10
พรรคความหวังใหม่ - - 1 7 1 9
พรรคประชาธิปัตย์ - 2 3 2 - 7
พรรคชาติไทย - - 1 3 - 4
พรรคเสรีธรรม - - - 4 - 4
พรรคราษฎร - - 1 1 - 2
พรรคถิ่นไทย - - - 1 - 1
รวม 1 9 8 41 2 61
  • ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2544 จำนวน 7 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กาญจนบุรี เขต 5 ขอนแก่น เขต 10 นครนายก เขต 2 บุรีรัมย์ เขต 5 สุรินทร์ เขต 4 อุบลราชธานี เขต 1 และเขต 10 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคไทยรักไทย ได้ 3 ที่นั่ง ชาติไทย 2 ที่นั่ง ความหวังใหม่ 1 ที่นั่ง และราษฎร 1 ที่นั่ง
  • ในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2544 จำนวน 2 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ นครนายก เขต 2 และอุบลราชธานี เขต 10 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคชาติไทย และพรรคราษฎร ได้ไปพรรคละ 1 ที่นั่ง
  • ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 จำนวน 14 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เขต 4 และเขต 26 กาฬสินธุ์ เขต 2 จันทบุรี เขต 1 นครพนม เขต 3 นนทบุรี เขต 3 เพชรบูรณ์ เขต 4 มหาสารคาม เขต 2 มุกดาหาร เขต 2 ลพบุรี เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 1 และเขต 5 สิงห์บุรี เขต 2 และอุทัยธานี เขต 1 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคชาติพัฒนา และไทยรักไทย พรรคละ 4 ที่นั่ง ความหวังใหม่ ประชาธิปัตย์ และชาติไทย พรรคละ 2 ที่นั่ง
  • ในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2545 ที่จังหวัดอุบลราชธานี เขต 10 ผลการเลือกตั้ง นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2546 ที่จังหวัดศรีสะเกษ เขต 1 ผลการเลือกตั้ง นายธเนศ เครือรัตน์ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่จังหวัดนนทบุรี เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นางพิมพา จันทร์ประสงค์ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ที่จังหวัดสงขลา เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นายวิรัตน์ กัลยาศิริ จากพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับเลือกตั้ง
  • ในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2547 ที่จังหวัดนครปฐม เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นายประสิทธิ์ ภักดีพาณิชพงศ์ จากพรรคไทยรักไทย ได้รับเลือกตั้ง

อ้างอิง

แก้
  1. การเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2539. ศูนย์บริการข้อมูลและกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. 1996. pp. 5–7.
  2. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2011-05-05.
  3. "พรรคการเมือง และรายชื่อผู้สมัคร ในระบบบัญชีรายชื่อ". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-02-08. สืบค้นเมื่อ 2001-02-08.
  4. "ผลการเลือกตั้ง 62 เขตเลือกตั้ง แบ่งตามรายภาค". web.archive.org. 2001-02-03. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-02-03. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)

ดูเพิ่ม

แก้