สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ

จังหวัดศรีสะเกษ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 9 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 9 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดศรีสะเกษ
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต9
คะแนนเสียง349,569 (เพื่อไทย)
206,017 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (7)
ภูมิใจไทย (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดศรีสะเกษมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย)

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอศรีสะเกษ, อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอคง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอห้วยเหนือ และอำเภอน้ำอ้อม
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอราษีไศล
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอขุขันธ์ และอำเภอกันทรลักษ์
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอกันทรารมย์ และกิ่งอำเภอยางชุมน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภอราษีไศล, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอไพรบึง
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอกันทรารมย์ และกิ่งอำเภอยางชุมน้อย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภอราษีไศล, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอขุนหาญ และอำเภอไพรบึง
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, กิ่งอำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอโนนคูณ และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่ และกิ่งอำเภอห้วยทับทัน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และอำเภอไพรบึง
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอโนนคูณ และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่ และกิ่งอำเภอห้วยทับทัน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอโนนคูณ และกิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอไพรบึง, อำเภอห้วยทับทัน และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอโนนคูณ, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอไพรบึง, อำเภอห้วยทับทัน และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, กิ่งอำเภอบึงบูรพ์ และกิ่งอำเภอภูสิงห์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ และอำเภอศรีรัตนะ
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/2 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, กิ่งอำเภอบึงบูรพ์, กิ่งอำเภอภูสิงห์ และกิ่งอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ และอำเภอศรีรัตนะ
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอน้ำเกลี้ยง, อำเภอวังหิน และกิ่งอำเภอพยุห์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอบึงบูรพ์, กิ่งอำเภอภูสิงห์, กิ่งอำเภอเมืองจันทร์ และกิ่งอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ, อำเภอศรีรัตนะ และกิ่งอำเภอเบญจลักษ์
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอน้ำเกลี้ยง, อำเภอวังหิน และกิ่งอำเภอพยุห์
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอภูสิงห์, กิ่งอำเภอเมืองจันทร์ และกิ่งอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ, อำเภอศรีรัตนะ และกิ่งอำเภอเบญจลักษ์
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอยางชุมน้อย (ยกเว้นตำบลยางชุมน้อยและตำบลโนนคูณ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอน้ำเกลี้ยง และ อำเภอโนนคูณ (เฉพาะตำบลบกและตำบลโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงินและตำบลตระกาจ), อำเภอเบญจลักษ์, อำเภอไพรบึง (ยกเว้นตำบลดินแดงและตำบลสำโรงพลัน) และอำเภอโนนคูณ (ยกเว้นตำบลบกและตำบลโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลชำ ตำบลละลาย ตำบลภูเงิน และตำบลตระกาจ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุนหาญ, อำเภอภูสิงห์ และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลชำและตำบลละลาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์และอำเภอไพรบึง (เฉพาะตำบลดินแดงและตำบลสำโรงพลัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปรางค์กู่, อำเภอวังหิน, อำเภอห้วยทับทัน (เฉพาะตำบลผักไหม) และอำเภอพยุห์
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน (ยกเว้นตำบลผักไหม) และอำเภอเมืองจันทร์ (ยกเว้นตำบลตาโกน)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอราษีไศล, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอยางชุมน้อย (เฉพาะตำบลยางชุมน้อยและตำบลโนนคูณ), อำเภอเมืองจันทร์ (เฉพาะตำบลตาโกน), กิ่งอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ และกิ่งอำเภอศิลาลาด
9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอพยุห์, อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ และอำเภอศิลาลาด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอภูสิงห์, อำเภอวังหิน และอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ, อำเภอศรีรัตนะ และอำเภอเบญจลักษ์
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอโนนคูณ และอำเภอน้ำเกลี้ยง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลภูเงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงิน), อำเภอเบญจลักษ์, อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอพยุห์ และอำเภอไพรบึง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุขันธ์ (เฉพาะตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด), อำเภอขุนหาญ และอำเภอภูสิงห์
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์ (ยกเว้นตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด) และอำเภอปรางค์กู่ (ยกเว้นตำบลสำโรงปราสาทและตำบลตูม)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน, อำเภอปรางค์กู่ (เฉพาะตำบลสำโรงปราสาทและตำบลตูม) และอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอราศีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, อำเภอศิลาลาด, อำเภอบึงบูรพ์ และอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอโนนคูณ และอำเภอน้ำเกลี้ยง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยุห์, อำเภอไพรบึง, อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอเบญจลักษ์ และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลภูเงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลภูเงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุนหาญ, อำเภอภูสิงห์ และอำเภอขุขันธ์ (เฉพาะตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์ (ยกเว้นตำบลปรือใหญ่ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลศรีตระกูล และตำบลตาอุด) และอำเภอปรางค์กู่ (ยกเว้นตำบลตูมและตำบลสำโรงปราสาท)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเมืองจันทร์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน และอำเภอปรางค์กู่ (เฉพาะตำบลตูมและตำบลสำโรงปราสาท)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอราษีไศล, อำเภอศิลาลาด และอำเภอยางชุมน้อย
  8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน (เฉพาะตำบลทุ่งสว่าง ตำบลบ่อแก้ว ตำบลธาตุ และตำบลบุสูง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกันทรารมย์, อำเภอน้ำเกลี้ยง และอำเภอโนนคูณ (เฉพาะตำบลบกและตำบลโพธิ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอศรีรัตนะ, อำเภอเบญจลักษ์, อำเภอโนนคูณ (ยกเว้นตำบลบกและตำบลโพธิ์) และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลจานใหญ่ ตำบลตระกาจ ตำบลภูเงิน และตำบลกระแชง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลจานใหญ่ ตำบลตระกาจ ตำบลภูเงิน และตำบลกระแชง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอขุนหาญและอำเภอภูสิงห์
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอขุขันธ์และอำเภอไพรบึง (เฉพาะตำบลสำโรงพลัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปรางค์กู่, อำเภอพยุห์, อำเภอไพรบึง (ยกเว้นตำบลสำโรงพลัน) และอำเภอวังหิน (เฉพาะตำบลดวนใหญ่ ตำบลวังหิน ตำบลโพนยาง และตำบลศรีสำราญ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอห้วยทับทัน และอำเภอเมืองจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ, อำเภอบึงบูรพ์, อำเภอราษีไศล, อำเภอศิลาลาด และอำเภอยางชุมน้อย
  9 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

แก้
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476
ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

แก้
      พรรคสหชีพ
      พรรคสหชีพพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายเทพ โชตินุชิต หลวงราษฎร์วิรุณหกิจ (ช้อย สุคนธ์) นายบูรณะ จำปาพันธ์ นายประเทือง ธรรมสาลี
2 นายพุฒเทศ กาญจนเสริม นายผล ศิลารัตน์ ร้อยตำรวจเอก สวัสดิ์ ศรีอุทุมพร
  • การเลือกตั้งครั้งที่ 1–2 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในนามจังหวัดขุขันธ์

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

แก้
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายบุญเพ็ง พรหมคุณ
นายเทพ โชตินุชิต
พ.ศ. 2492 นายประเทือง ธรรมสาลี (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

แก้
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายทิม ไชยงยศ
2 นายเทพ โชตินุชิต
3 นายมานิต อุทธิเสน

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

แก้
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายบูรณะ จัมปาพันธ์ นายบูรณะ จัมปาพันธ์
นายเลื่อน ทองดี นายสง่า วัชราภรณ์
นายเทพ โชตินุชิต
นายตรีเพ็ชร ศรแก้ว นายพรชัย แสงชัชจ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

แก้
      พรรคแนวประชาธิปไตย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายนิสิต เวทย์ศิริยานันท์
2 นายสง่า วัชราภรณ์
3 นางสุมนา นิตยสุทธิ
4 นายไพบูลย์ มัฆวิมาลย์
5 นายสุจินต์ เชาว์วิศิษฐ

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

แก้
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคแผ่นดินไทย (พ.ศ. 2517)
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2517)
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายสง่า วัชราภรณ์ นายบุญชง วีสมหมาย
นายมานิต อุทธิเสน นายนิสิต เวทย์ศิริยานันท์
นายมานิตย์ พรหมมานนท์ นายมานิตย์ พรหมมานนท์
2 นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายสุจินต์ เชาว์วิศิษฐ นายชุมพล อรุณยะเดช
นายเริ่มรัฐ จิตรภักดี นายสุกิจ ศรีสาคร

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526

แก้
      พรรคเสรีธรรม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายไพโรจน์ เครือรัตน์ นายไพโรจน์ เครือรัตน์
นางกรองกาญจน์ วีสมหมาย
นายสุเทพ อาจสารี นายธีระชัย วีสมหมาย
2 นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายสนิท ลีลา นายชินรัฐ จิตต์ภักดี
3 นายสง่า วัชราภรณ์ นายสง่า วัชราภรณ์
นายพันธ์ อินพานิช นายเสถียร ธรรมสุริยะ

ชุดที่ 15–16; พ.ศ. 2529–2531

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรครวมไทย (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคประชาชนพรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
1 นายวิชิต แสงทอง นายมหาหิงค์ ไพรสิน
นายไพโรจน์ เครือรัตน์
นางกรองกาญจน์ วีสมหมาย
2 นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายเริ่มรัฐ จิตรภักดี นายประโภชฌ์ สภาวสุ
นายสวัสดิ์ สืบสายพรหม นายสวัสดิ์ สืบสายพรหม
3 นายสง่า วัชราภรณ์ นายวีระ ไชยะเดชะ
นายจำนงค์ โพธิสาโร

ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539

แก้
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคพลังธรรม
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายบุญชง วีสมหมาย
นายไพโรจน์ เครือรัตน์ นายมานะ มหาสุวีระชัย นายไพโรจน์ เครือรัตน์ นายมานะ มหาสุวีระชัย
นางกรองกาญจน์ วีสมหมาย ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง นายวิชิต แสงทอง ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
2 นายสวัสดิ์ สืบสายพรหม นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (ถูกให้ออกจากพรรค) นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์ นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
นายมานพ จรัสดำรงนิตย์ (แทนนายปิยะณัฐ)
นายเทิดภูมิ ใจดี พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
3 นายจำนงค์ โพธิสาโร นายจำนงค์ โพธิสาโร นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
นายสง่า วัชราภรณ์ นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคชาติพัฒนาพรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายบุญชง วีสมหมาย
(   / เลือกตั้งใหม่ / เสียชีวิต)
นายธเนศ เครือรัตน์
นายธเนศ เครือรัตน์
(แทนนายบุญชง)
2 นายพิทยา บุญเฉลียว นายพิทยา บุญเฉลียว
3 นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ
(ถูกสั่งนับคะแนนใหม่)
นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ
นายจำนงค์ โพธิสาโร
(แทนนายวิวัฒน์ชัย)
4 นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
5 นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์   นายอมรเทพ สมหมาย
นายอมรเทพ สมหมาย
(แทนนายดนัยฤทธิ์)
6 พันตำรวจเอก ทิน วงศ์ปลั่ง นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
7 นางสาวมาลินี อินฉัตร   นางสาวมาลินี อินฉัตร
ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
(แทนนางสาวมาลินี)
8 นายมานพ จรัสดำรงนิตย์
9 นางผ่องศรี แซ่จึง
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายปวีณ แซ่จึง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาราช
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายธเนศ เครือรัตน์
นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายสุตา พรมดวง
(แทนนายสิริพงศ์/ลาออก)
นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์
(แทนนายสุตา)
นายปวีณ แซ่จึง
2 นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ
ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นางสาวจิรวดี จึงวรานนท์ (แทนร้อยโท กุเทพ)
3 นางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์
นายธีระ ไตรสรณกุล
นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

แก้
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายธเนศ เครือรัตน์ นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ
2 นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์
3 นางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ
4 นายวิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
5 นายธีระ ไตรสรณกุล นายธีระ ไตรสรณกุล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
6 นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
7 นายมานพ จรัสดำรงนิตย์ นายอาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพ
8 นายปวีณ แซ่จึง นางผ่องศรี แซ่จึง

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

แก้
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายธเนศ เครือรัตน์
2 นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์
3 นายธนา กิจไพบูลย์ชัย
4 นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
5 นายอมรเทพ สมหมาย
6 นายวีระพล จิตสัมฤทธิ์
7 นางสาววิลดา อินฉัตร
8 นายอาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพ
9 นางนุชนาถ จารุวงษ์เสถียร

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้