อำเภอเมืองจันทร์

อำเภอในจังหวัดศรีสะเกษ ประเทศไทย

เมืองจันทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ แยกออกจากอำเภออุทุมพรพิสัย เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2535[1] และต่อมาเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2540 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะเป็น อำเภอเมืองจันทร์[2]

อำเภอเมืองจันทร์
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Mueang Chan
คำขวัญ: 
ปราสาทเมืองจันทร์คู่เมือง ลือเลื่องพริกพันธุ์ดี
มีบั้งไฟแสน แดนนกเป็ดน้ำ
แผนที่จังหวัดศรีสะเกษ เน้นอำเภอเมืองจันทร์
แผนที่จังหวัดศรีสะเกษ เน้นอำเภอเมืองจันทร์
พิกัด: 15°11′30″N 104°3′12″E / 15.19167°N 104.05333°E / 15.19167; 104.05333
ประเทศ ไทย
จังหวัดศรีสะเกษ
พื้นที่
 • ทั้งหมด95.83 ตร.กม. (37.00 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2564)
 • ทั้งหมด17,812 คน
 • ความหนาแน่น185.87 คน/ตร.กม. (481.4 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 33120
รหัสภูมิศาสตร์3318
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอเมืองจันทร์ หมู่ที่ 4 ตำบลหนองใหญ่ อำเภอเมืองจันทร์ จังหวัดศรีสะเกษ 33120
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ที่ตั้งและอาณาเขต แก้

อำเภอเมืองจันทร์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง แก้

การปกครองส่วนภูมิภาค แก้

อำเภอเมืองจันทร์แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 ตำบล 52 หมู่บ้าน ได้แก่

1. เมืองจันทร์ (Mueang Chan) 25 หมู่บ้าน
2. ตาโกน (Takon) 15 หมู่บ้าน
3. หนองใหญ่ (Nong Yai) 12 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น แก้

ท้องที่อำเภอเมืองจันทร์ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลเมืองจันทร์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมืองจันทร์ทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลหนองใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองใหญ่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลตาโกน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตาโกนทั้งตำบล

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมืองจันทร์" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-03-24. สืบค้นเมื่อ 2010-11-17.
  2. "พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอหนองปรือ อำเภอห้วยกระเจา อำเภอทรายทองวัฒนา อำเภอปางศิลาทอง อำเภอเนินสง่า อำเภอนาทม อำเภอพระพรหม อำเภอแม่วงก์ อำเภอสองแคว อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ อำเภอไทยเจริญ อำเภอกาบัง อำเภอพยุห์ อำเภอเมืองจันทร์ อำเภอภูพาน อำเภอคลองหอยโข่ง อำเภอเขาฉกรรจ์ อำเภอนาวัง อำเภอพิบูลย์รักษ์ และอำเภอทุ่งศรีอุดม พ.ศ. 2540" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-01-27. สืบค้นเมื่อ 2010-11-17.