สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 8 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 8 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดร้อยเอ็ด | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 8 |
คะแนนเสียง | 300,126 (เพื่อไทย) 102,210 (พลังประชารัฐ) 77,599 (ไทยสร้างไทย) 41,736 (ชาติไทยพัฒนา) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | เพื่อไทย (5) พลังประชารัฐ (1) ไทยสร้างไทย (1) ชาติไทยพัฒนา (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดร้อยเอ็ดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ พันโท พระไพศาลเวชกรรม (สวาสดิ์ โสมเกษตร) และ จ่านายสิบ ขุนเสนาสัสดี (ถั่ง ทองทวี)
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายอนุรักษ์ จุรีมาศ และนายฉลาด ขามช่วง
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดร้อยเอ็ด คือ นางสุนีรัตน์ เตลาน (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2518)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- สินธุไพร (4 คน) ได้แก่ นายนิสิต สินธุไพร นางเอมอร สินธุไพร นางสาวจิราพร สินธุไพร และนางสาวชญาภา สินธุไพร
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2480 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอแซงบาดาล, อำเภอโพนทอง และอำเภอหัวช้าง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองแวง, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ และอำเภอเสลภูมิ |
2 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี และอำเภออาจสามารถ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแวง, อำเภอเสลภูมิ และอำเภอพนมไพร · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอเกษตรวิสัย และอำเภอสุวรรณภูมิ | ||
พ.ศ. 2491 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 3 คน (เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | 4 คน (เขตละ 4 คน) | ||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 5 คน (เขตละ 5 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภอหนองพอก, อำเภอโพนทอง และกิ่งอำเภอโพธิ์ชัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภออาจสามารถ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอปทุมรัตน์, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอพนมไพร และกิ่งอำเภอเมืองสรวง |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2519 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอพนมไพร · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอโพธิ์ชัย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์ และกิ่งอำเภอเมืองสรวง |
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอพนมไพร · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก, กิ่งอำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอเมยวดี · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, กิ่งอำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย |
||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอพนมไพร · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก, อำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอเมยวดี · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย |
||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอโพธิ์ชัย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี |
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2531 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอศรีสมเด็จ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี |
||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย, กิ่งอำเภอศรีสมเด็จ และกิ่งอำเภอจังหาร · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และอำเภอโพนทราย · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี |
||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, กิ่งอำเภอจังหาร และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอโพนทราย, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอหนองฮี · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออาจสามารถ, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอโพนทอง, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี |
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอจังหาร และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอโพนทราย, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอหนองฮี · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออาจสามารถ, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอโพนทอง, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี |
||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ (ยกเว้นตำบลอาจสามารถ ตำบลหนองขาม ตำบลหนองหมื่นถ่าน และตำบลหน่อม), กิ่งอำเภอทุ่งเขาหลวง และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ (เฉพาะตำบลหมูม้น ตำบลพลับพลา และตำบลพระเจ้า) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอจังหาร, อำเภอโพนทอง (เฉพาะตำบลนาอุดม ตำบลอุ่มเม่า ตำบลคำนาดี และตำบลโพธิ์ศรีสว่าง) และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ (เฉพาะตำบลพระธาตุ ตำบลเชียงขวัญ และตำบลบ้านเขือง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโพนทอง (ยกเว้นตำบลนาอุดม ตำบลอุ่มเม่า ตำบลคำนาดี และตำบลโพธิ์ศรีสว่าง), อำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลท่าสีดา ตำบลหนองขุ่นใหญ่ ตำบลโคกสว่าง และตำบลผาน้ำย้อย) และอำเภอเมยวดี · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเสลภูมิและอำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลท่าสีดา ตำบลหนองขุ่นใหญ่ ตำบลโคกสว่าง และตำบลผาน้ำย้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลอาจสามารถ ตำบลหนองขาม ตำบลหนองหมื่นถ่าน และตำบลหน่อม) และกิ่งอำเภอหนองฮี · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสุวรรณภูมิและอำเภอโพนทราย · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเกษตรวิสัยและอำเภอปทุมรัตต์ · เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอศรีสมเด็จ และอำเภอเมืองสรวง |
9 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ดและอำเภอจังหาร (เฉพาะตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอจังหาร (ยกเว้นตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่), อำเภอธวัชบุรี (ยกเว้นตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล) และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเมยวดี และอำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่) และกิ่งอำเภอทุ่งเขาหลวง (ยกเว้นตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลอาจสามารถ ตำบลบ้านแจ้ง ตำบลหนองหมื่นถ่าน ตำบลโพนเมือง และตำบลหม่อม), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล), กิ่งอำเภอทุ่งเขาหลวง (เฉพาะตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และกิ่งอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลหนองฮีและตำบลสาวแห) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอโพนทราย, อำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลหนองหิน) และกิ่งอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลเด่นราษฎร์และตำบลดูกอึ่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอปทุมรัตต์ และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลกกกุงและตำบลคูเมือง) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลบ้านดู่ ตำบลหนองขาม ตำบลโหรา ตำบลหนองบัว และตำบลขี้เหล็ก) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลเมืองสรวงและตำบลหนองผือ) |
8 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจังหาร, อำเภอเชียงขวัญ และอำเภอทุ่งเขาหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง, อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี |
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ดและอำเภอจังหาร (เฉพาะตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอเชียงขวัญ, อำเภอจังหาร (ยกเว้นตำบลปาฝาและตำบลยางใหญ่) และอำเภอธวัชบุรี (ยกเว้นตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเมยวดี และอำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอทุ่งเขาหลวง (ยกเว้นตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และอำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลผาน้ำย้อย ตำบลโคกสว่าง ตำบลท่าสีดา และตำบลหนองขุ่นใหญ่) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลอาจสามารถ ตำบลบ้านแจ้ง ตำบลหนองหมื่นถ่าน ตำบลโพนเมือง และตำบลหม่อม), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง ตำบลราชธานี ตำบลหนองไผ่ และตำบลไพศาล), อำเภอทุ่งเขาหลวง (เฉพาะตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลหนองฮีและตำบลสาวแห) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอโพนทราย, อำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลเด่นราษฎร์และตำบลดูกอึ่ง) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลหนองหิน) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอปทุมรัตต์ และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลกกกุงและตำบลคูเมือง) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลบ้านดู่ ตำบลหนองขาม ตำบลโหรา ตำบลหนองบัว และตำบลขี้เหล็ก) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลเมืองสรวงและตำบลหนองผือ) |
8 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ดและอำเภอศรีสมเด็จ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอจังหาร, อำเภอเชียงขวัญ, อำเภอโพธิ์ชัย และอำเภอธวัชบุรี (ยกเว้นตำบลราชธานี ตำบลเขวาทุ่ง และตำบลเมืองน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอโพนทอง, อำเภอเมยวดี และอำเภอหนองพอก (ยกเว้นตำบลหนองขุ่นใหญ่และตำบลท่าสีดา) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอทุ่งเขาหลวง, อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลราชธานี ตำบลเขวาทุ่ง และตำบลเมืองน้อย), อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลโพนเมืองและตำบลบ้านแจ้ง) และอำเภอหนองพอก (เฉพาะตำบลหนองขุ่นใหญ่และตำบลท่าสีดา) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโพนทราย, อำเภอหนองฮี, อำเภอพนมไพร และอำเภออาจสามารถ (ยกเว้นตำบลโพนเมืองและตำบลบ้านแจ้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอเมืองสรวง และอำเภอจตุรพักตรพิมาน (เฉพาะตำบลป่าสังข์ ตำบลดงกลาง ตำบลศรีโคตร ตำบลหัวช้าง ตำบลดงแดง และตำบลน้ำใส) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเกษตรวิสัย และอำเภอจตุรพักตรพิมาน (เฉพาะตำบลลิ้นฟ้า ตำบลดู่น้อย ตำบลอีง่อง ตำบลหนองผือ ตำบลเมืองหงส์ และตำบลโคกล่าม) |
7 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองร้อยเอ็ด · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอจังหาร, อำเภอเชียงขวัญ, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอโพนทอง (เฉพาะตำบลคำนาดี ตำบลนาอุดม และตำบลอุ่มเม่า) และอำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลธวัชบุรี ตำบลหนองพอก และตำบลมะอึ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหนองพอก, อำเภอเมยวดี และอำเภอโพนทอง (ยกเว้นตำบลคำนาดี ตำบลนาอุดม ตำบลอุ่มเม่า ตำบลโคกสูง และตำบลโพธิ์ศรีสว่าง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเสลภูมิ, อำเภอทุ่งเขาหลวง (ยกเว้นตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลธงธานี ตำบลบึงนคร และตำบลไพศาล) และอำเภอโพนทอง (เฉพาะตำบลโคกสูงและตำบลโพธิ์ศรีสว่าง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพนมไพร, อำเภออาจสามารถ (ยกเว้นตำบลโหรา ตำบลหนองบัว ตำบลบ้านดู่ และตำบลขี้เหล็ก), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลอุ่มเม้า ตำบลนิเวศน์ และตำบลหนองไผ่), อำเภอทุ่งเขาหลวง (เฉพาะตำบลเทอดไทยและตำบลเหล่า) และอำเภอหนองฮี (เฉพาะตำบลหนองฮี) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี (ยกเว้นตำบลหนองฮี) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเกษตรวิสัย และอำเภอเมืองสรวง (ยกเว้นตำบลหนองผือและตำบลเมืองสรวง) · เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภออาจสามารถ (เฉพาะตำบลโหรา ตำบลหนองบัว ตำบลบ้านดู่ และตำบลขี้เหล็ก), อำเภอธวัชบุรี (เฉพาะตำบลเมืองน้อย ตำบลเขวาทุ่ง และตำบลราชธานี) และอำเภอเมืองสรวง (เฉพาะตำบลหนองผือและตำบลเมืองสรวง) |
8 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476
แก้ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 |
พันโท พระไพศาลเวชกรรม (สวาสดิ์ โสมเกษตริน) |
จ่านายสิบ ขุนเสนาสัสดี (ถั่ง ทองทวี) |
ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489
แก้- พรรคสหชีพ
- พรรคสหชีพ → พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต | ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 | ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 | ชุดที่ 4 | |
มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม | |||
1 | นายถวิล อุดล | นายสิงห์ ประกาสิทธิ์ | นายฉันท์ จันทชุม | |
2 | นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ | นายวิเชียร บำรุงพานิช | นายประมวล ประสาน | |
3 | – | – | – | นายจำรัส ทับแสง |
ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายชอ สายเชื้อ |
นายวิวัฒน์ พูนศรี ศรีสุวรนันท์ | ||
นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ | ||
พ.ศ. 2492 | นายสุวัฒน์ พูลลาภ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
แก้ลำดับ | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 |
1 | นายจรินทร์ สุวรรณธาดา |
2 | นายฉันท์ จันทชุม |
3 | นายอัมพร สุวรรณบล |
4 | นายนิวัติ พูนศรี ศรีสุวรนันท์ |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
แก้- พรรคเสรีประชาธิปไตย
- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคสหภูมิ → พรรคชาติสังคม
- พรรคชาติสังคม
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
นายอัมพร สุวรรณบล | นายบรรเจิด สายเชื้อ |
นายเทพเจริญ พูลลาภ | นายจรินทร์ สุวรรณธาดา |
นายฉันท์ จันทชุม | นายฉันท์ จันทชุม |
นายสมพร จุรีมาศ | |
- | นายเทพเจริญ พูลลาภ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายชอ สายเชื้อ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายมานิต มาศเกษม (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายเพชร จันทราช (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
แก้- พรรคสหประชาไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคแนวประชาธิปไตย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายสมบูรณ์ ทวีวัฒน์ |
2 | เรืออากาศเอก สมบูรณ์ ไพรินทร์ |
3 | นายเสมอ อัครปรีดี (ขาดคุณสมบัติ) |
นายชวินทร์ สระคำ (แทนนายเสมอ) | |
4 | นายสมพร จุรีมาศ |
5 | ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ |
ชุดที่ 11; พ.ศ. 2518
แก้เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 |
1 | นายสนิท ขุราษี |
นายชู อุ่นสมัย | |
นางสุนีรัตน์ เตลาน | |
2 | นายชัชวาลย์ ชมภูแดง |
นายถวิล พิมพ์มหินทร์ | |
ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ |
ชุดที่ 12–14; พ.ศ. 2519–2526
แก้- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคกิจสังคม
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคชาติประชาธิปไตย
- พรรคกิจประชาธิปไตย
- พรรคชาติไทย
เขต | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 | ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 |
1 | นายสมพร จุรีมาศ | นายสมพร จุรีมาศ (เสียชีวิต) | นางสาวศิริพันธ์ จุรีมาศ |
พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (แทนนายสมพร/ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) | |||
พันเอก (พิเศษ) อุดม ทวีวัฒน์ | พันเอก (พิเศษ) อุดม ทวีวัฒน์ | พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ | |
นายสุธรรม ปัทมดิลก | ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ | ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ | |
2 | นายโกศล แวงวรรณ | นายโกศล แวงวรรณ | นายประสงค์ โพดาพล |
นายเฉลียว คล้ายหนองทรวง | นายยงยุทธ ขัติยนนท์ | นายเฉลียว คล้ายหนองทรวง | |
3 | นายเจริญ กลางคาร | ร้อยตำรวจเอก พงศ์พันธ์ พงศ์สยาม (เสียชีวิต) | นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ |
นายไวกูณฐ์ ศิริสังข์ไชย (แทนร้อยตำรวจเอก พงศ์พันธ์) | |||
นายดุลย์ ดวงเกตุ | นายเวียง วรเชษฐ์ |
ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535
แก้- พรรคกิจประชาคม
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคชาติประชาธิปไตย
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคพลังสังคมประชาธิปไตย
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
- พรรคเอกภาพ
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
แก้เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายอนุรักษ์ จุรีมาศ | |
นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ | นายเวียง วรเชษฐ์ | |
นายฉลาด ขามช่วง | ||
2 | นายศักดา คงเพชร | นายศักดา คงเพชร |
นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ | นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ (เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) | |
นายชัชวาลย์ ชมภูแดง | นายระวี หิรัญโชติ | |
3 | นายเอกภาพ พลซื่อ | |
นายชัยศักดิ์ ทะไกรราช | นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ | |
นายสุรพร ดนัยตั้งตระกูล |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) → พรรคไทยรักไทย
- พรรคไทยรักไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคความหวังใหม่ → พรรคไทยรักไทย
- พรรคถิ่นไทย → พรรคไทยรักไทย
- พรรคชาติไทย
เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายสานิต ว่องสัธนพงษ์ | นายอนุรักษ์ จุรีมาศ |
2 | นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ | นายฉลาด ขามช่วง |
นายบุญเติม จันทะวัฒน์ (แทนนายเศกสิทธิ์) | ||
3 | นายฉลาด ขามช่วง ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายเอกภาพ พลซื่อ |
4 | นายเอกภาพ พลซื่อ | นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ |
5 | นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ | นายนิสิต สินธุไพร |
6 | นายนิสิต สินธุไพร | นายกิตติ สมทรัพย์ |
7 | นายกิตติ สมทรัพย์ | นายศักดา คงเพชร |
8 | นายศักดา คงเพชร | นายมังกร ยนต์ตระกูล |
9 | นายเวียง วรเชษฐ์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
ยุบเขต 9 |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายฉลาด ขามช่วง | |
นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ | ||
นายวราวงษ์ พันธุ์ศิลา | ||
2 | นายนิสิต สินธุไพร (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นายปิยะรัช หมื่นแสน (แทนนายนิสิต) |
นายศักดา คงเพชร | ||
นายกิตติ สมทรัพย์ | ||
3 | นายนพดล พลซื่อ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นางรัชนี พลซื่อ (แทนนายนพดล) |
นายนิรมิต สุจารี |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
แก้เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายวราวงษ์ พันธุ์ศิลา | นายอนุรักษ์ จุรีมาศ | |
2 | นายฉลาด ขามช่วง | ||
3 | นายนิรมิต สุจารี | นางรัชนี พลซื่อ ( / รอคำสั่งศาล) | |
4 | นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์ | นายนรากร นาเมืองรักษ์ | |
5 | นางเอมอร สินธุไพร | นางสาวจิราพร สินธุไพร | |
6 | นายกิตติ สมทรัพย์ | ||
7 | นายศักดา คงเพชร | นายชัชวาล แพทยาไทย | |
8 | นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ | ยุบเขต 8 | นางสาวชญาภา สินธุไพร |
รูปภาพ
แก้-
นายถวิล อุดล
-
ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ
-
พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
-
นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์
-
นายเวียง วรเชษฐ์
-
นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
-
นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์
-
นายบุญเติม จันทะวัฒน์
-
นายศักดา คงเพชร
-
นางสาวจิราพร สินธุไพร
-
นายชัชวาล แพทยาไทย
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดร้อยเอ็ด เก็บถาวร 2012-07-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน