สหภาพแอฟริโลก้า
ธงชาติ
เพลงชาติเพลงชาติแอฟริโลก้า
ตำแหน่งของแอฟริโลก้า (สีเขียว)
ตำแหน่งของแอฟริโลก้า (สีเขียว)
ภาษาราชการภาษาแอฟยุโก้
การปกครอง
• -
พระมหากษัตริย์
ประธานาธิบดี
• -
นายกรัฐมนตรี
สถาปนาเป็น
2024-2052
2053-2130
• สหภาพ แอฟริโลก้า
2131-ปัจจุบัน
ประชากร
• 2190 ประมาณ
4,468,737,200 (1)
• สำมะโนประชากร 2180
3,430,600,100
สกุลเงินใบ (Bai)
เขตเวลา-1 - +10

เขตการปกครอง แก้

เขตยุโรป แก้

แบ่งการปกครองเป็นย่อยๆดังนี้

ดินแดน เมืองหลวงประจำดินแดน ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (ล้านคน) (2551)
  กรีซ เอเธนส์
130,463
11.2
  โครเอเชีย ซาเกร็บ
55,882
4.4
  สาธารณรัฐเช็ก ปราก
78,864
10.4
  ซานมารีโน ซานมารีโน
61
0.03
  เซอร์เบีย เบลเกรด
88,361
12.1
  เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน
42,593
5.5
  นอร์เวย์ ออสโล
320,466
4.8
  เนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัม
41,019
16.4
  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาราเยโว
50,537
3.8
  บัลแกเรีย โซเฟีย
109,627
7.6
  เบลเยียม บรัสเซลส์
30,164
10.7
  เบลารุส มินสก์
205,194
9.7
  โปรตุเกส ลิสบอน
91,320
10.6
  โปแลนด์ วอร์ซอ
312,056
38.1
  ฝรั่งเศส ปารีส
537,666
62.0
  ฟินแลนด์ เฮลซิงกิ
334,288
5.3
  มอนเตเนโกร พอดกอรีตซา
91,320
10.6
  มอลโดวา คีชีเนา
13,812
0.6
  มอลตา วัลเลตตา
312
0.4
  มาซิโดเนีย สโกเปีย
25,416
2.0
  โมนาโก โมนาโก
1.5
0.03
  ยูเครน เคียฟ
597,007
46.2
  เยอรมนี เบอร์ลิน
352,914
82.2
  รัสเซีย มอสโก
16,877,291
141.9
  โรมาเนีย บูคาเรสต์
234,749
21.5
  ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก
2,555
0.5
  ลัตเวีย รีกา
63,851
2.3
  ลิกเตนสไตน์ วาดุซ
160
0.04
  ลิทัวเนีย วิลนีอุส
64,445
3.4
  นครรัฐวาติกัน วาติกัน
0.5
0.0009
  สเปน มาดริด
498,936
46.5
  สโลวาเกีย บราติสลาวา
49,036
5.4
  สโลวีเนีย ลูบลิยานา
19,761
2.0
  สวิตเซอร์แลนด์ เบิร์น
40,809
7.6
  สวีเดน สตอกโฮล์ม
444,754
9.2
  สหราชอาณาจักร ลอนดอน
241,275
61.3
  ออสเตรีย เวียนนา
82,885
8.4
  อันดอร์รา อันดอร์ราลาเวลลา
448
0.1
  อิตาลี โรม
297,789
59.9
  เอสโตเนีย ทาลลินน์
44,577
1.3
  แอลเบเนีย ติรานา
28,416
3.2
  ไอซ์แลนด์ เรคยาวิก
101,809
0.3
  ไอร์แลนด์ ดับลิน
69,471
4.5
  ฮังการี บูดาเปสต์
91,953
10.0
  เขตยุโรป
10,600,000 1 745.9069 2

เขตเอเชีย แก้

การแบ่งภูมิภาค แก้

 
อนุภูมิภาคของภูมิภาคเอเชีย:

ทวีปเอเชียนอกจากจะเป็นอนุภูมิภาคของยูเรเชีย ยังอาจแบ่งออกเป็นส่วนย่อยดังนี้

เอเชียเหนือ แก้

นักภูมิศาสตร์ใช้คำนี้น้อยมาก แต่โดยปกติหมายถึงรัสเซีย เรียกอีกอย่างว่าไซบีเรีย บางครั้งรวมถึงประเทศทางตอนเหนือของเอเชียด้วย เช่น คาซัคสถาน

เอเชียกลาง แก้

 
แผนที่แสดงที่ตั้งเอเชียกลาง
 
เมืองอัลมาตี

เอเชียกลาง เป็นภูมิภาคที่เกิดขึ้นใหม่จากประเทศต่าง ๆ ที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต (เฉพาะที่มีเขตแดนอยูในทวีปเอเชีย) มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4,021,431 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 61,551,945 คน (กุมภาพันธ์ 2553) เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อันกว้างใหญ่ของภูมิภาค เอเชียกลางจึงเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่มีประชากรอาศัยอย่างเบาบางที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (เฉลี่ยทั้งภูมิภาค 15 คนต่อตารางกิโลเมตร) และเหตุที่ประเทศภูมิภาคเอเชียกลางไม่มีทางออกสู่ทะเล การส่งออกและการค้าของเอเชียกลางจึงพัฒนาอย่างช้า ๆ โดยประเทศส่งออกหลักของกลุ่มประเทศเอเชียกลาง ได้แก่ รัสเซีย ยุโรปตะวันออก และเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียกลางเป็นแบบที่ราบสูง แต่จะมีที่ราบลุ่มบริเวณทะเลแคสเปียน ด้านศาสนา ประเทศส่วนใหญ่ในเอเชียกลางนับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์

ธงดินแดน ดินแดน เมืองหลวงประจำดินแดน พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (2552) ความหนาแน่น
  คาซัคสถาน อัสตานา 2,724,900 16,004,800 6
  เติร์กเมนิสถาน อาชกาบัต 488,100 5,110,000 10
  อุซเบกิสถาน ทาชเคนต์ 447,400 25,606,000 62
  คีร์กีซสถาน บิชเคก 194,500 5,482,000 3
  ทาจิกิสถาน ดูชานเบ 143,100 7,349,145 51

เอเชียตะวันออก แก้

 
แผนที่ของเอเชียตะวันออก

เอเชียตะวันออก หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ประมาณ11,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 15 และ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย นับเป็นภูมิภาคย่อยซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปเอเชีย ประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ประเทศจีน มีพื้นที่ประมาณ 9,584,492 ตารางกิโลเมตร เอเชียตะวันออกมีประชากรมากกว่า 1,500 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 40 ของของชาวเอเชียทั้งหมด หรือประมาณ 1 ใน 4 ของประชากรโลกอาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรในเอเชียตะวันออกอยู่ที่ 230 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 5 เท่า ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ ประเทศจีน มีประชากรประมาณ 1,322,044,605 หรือร้อยละ 85 ของประชากรในภูมิภาค ส่วนประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด คือ ไต้หวัน ความหนาแน่นเฉลี่ย 626.7 คนต่อตารางกิโลเมตร

นอกจากนี้ เอเชียตะวันออกยังเป็นภูมิภาคที่ได้ชื่อว่าเจริญที่สุดในทวีปเอเชีย เพราะเป็นภูมิภาคเดียวที่การทำอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปมาก โดยเฉพาะญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน และไต้หวัน ส่วนประเทศมองโกเลียและเกาหลีเหนือ อุตสาหกรรมยังไม่ค่อยพัฒนานัก เมืองอุตสาหกรรมสำคัญของเอเชียตะวันออก ได้แก่ โตเกียว ฮิโระชิมะ นะงะซะกิ โซล ปูซาน ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ ไทเป อินชอน เทียนสิน ฮ่องกง เป็นต้น

Street in Seoul
โซล
ธงดินแดน ดินแดน เมืองหลวงประจำดินแดน พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (2552) ความหนาแน่น
  จีน ปักกิ่ง 9,671,018 1,335,612,968 138
  ญี่ปุ่น โตเกียว 377,944 127,470,000 337
  ไต้หวัน ไทเป 36,191 23,119,772 639
  เกาหลีเหนือ เปียงยาง 120,540 23,906,000 198
  เกาหลีใต้ โซล 100,140 50,062,000 500
  มองโกเลีย อูลานบาตอร์ 1,564,116 2,736,800 2
  ฮ่องกง (เขตบริหารพิเศษของจีน) - 1,104 7,055,071 6,390
  มาเก๊า (เขตบริหารพิเศษของจีน) - 29 541,200 18,662

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แก้

 
แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ เอเชียอาคเนย์ มีพื้นที่ประมาณ4,600,000 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 593,000,000คน (2008) ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 116.5 คนต่อตารางกิโลเมตร มีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศ 11 ประเทศ ลักษณะทำเลที่ตั้งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนภาคพื้นทวีปและภาคพื้นสมุทร ส่วนภาคพื้นทวีป ได้แก่ พม่า ไทย เวียดนาม ลาว กัมพูชา และมาเลเซียตะวันตก และภาคพื้นสมุทร ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซียตะวันออก ติมอร์ตะวันออก บรูไน และสิงคโปร์ ลักษณะภูมิประเทศแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำ (ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา) ที่ราบสูง (ที่ราบสูงในรัฐฉาน เทือกเขาอาระกันโยมา พื้นที่ส่วนใหญ่ของลาว ตอนเหนือของมาเลเซียตะวันตก) และ เขตหมู่เกาะ (หมู่เกาะอินโดนีเซีย หมู่เกาะฟิลิปปินส์ เกาะสิงคโปร์)

โครงสร้างทางเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่เป็นแบบเกษตรกรรม ยกเว้นสิงคโปร์และบรูไนซึ่งมีการพัฒนาอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปมาก ในขณะเดียวกันทุกประเทศก็พัฒนาอุตสาหกรรมจนมีความก้าวหน้าไปมาก เช่น ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ในปัจจุบัน กลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการรวมกลุ่มกันเป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีเมืองใหญ่ที่สำคัญหลายเมือง เช่น จาการ์ตา (เมืองใหญ่ที่สุดในภูมิภาค) กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ โฮจิมินห์ซิตี ฮานอย ปุตราจายา กัวลาลัมเปอร์ สิงคโปร์ บันดาร์เสรีเบกาวัน ภูเก็ต เป็นต้น

 
กรุงเทพมหานคร ใน ประเทศไทย
ธงดินแดน ดินแดน เมืองหลวงประจำดินแดน พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (2552) ความหนาแน่น
  อินโดนีเซีย จาการ์ตา 1,904,569 240,271,522 126
  พม่า เนปีดอ 678,000 50,019,775 74
  ไทย กรุงเทพมหานคร 514,000 67,764,033 132
  เวียดนาม ฮานอย 331,210 88,069,000 265
  มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 329,750 33,318,000 83
  ฟิลิปปินส์ มะนิลา 300,000 91,983,102 307
  ลาว เวียงจันทน์ 236,800 6,320,429 27
  กัมพูชา พนมเปญ 181,035 14,805,358 82
  ติมอร์ตะวันออก ดิลี 14,874 1,134,000 76
  บรูไน บันดาร์เสรีเบกาวัน 5,765 400,000 70
  สิงคโปร์ สิงคโปร์ 665 4,987,600 7,023

เอเชียใต้ แก้

 
แผนที่เอเชียใต้

เอเชียใต้ หรือ ชมพูทวีป หรือ อนุทวีป เป็นทวีปที่อยู่ทางใต้ของทวีปเอเชีย เป็นต้นกำเนิดพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เอเชียใต้มีพื้นที่ประมาณ 5,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 10 ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดอีกแห่งหนึ่งของโลก มีจำนวนประชากรกว่า 1 พันล้านคนอาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ ซึ่งคิดเปรียบเทียบเป็นสัดส่วนเท่ากับ 1 ใน 3 ของชาวเอเชียทั้งหมด หรือ 1 ใน 5 ของประชากรโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 305 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 7 เท่า ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ ประเทศอินเดีย (1,198,003,000 คน)

ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียใต้ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง (เช่นที่ราบสูงเดกกันในประเทศอินเดีย) และยังมีที่ราบลุ่มแม่น้ำที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา (ในประเทศอินเดีย) ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ (ในประเทศปากีสถาน) และที่ราบลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร (ในประเทศบังกลาเทศ) ทางตอนเหนือของเอเชียใต้ติดกับที่ราบสูงทิเบตและเทือกเขาหิมาลัย ทำให้มีอากาศหนาวเย็น

ด้านเศรษฐกิจ ทุกประเทศยังมีโครงสร้างส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม อุตสาหกรรมยังไม่พัฒนามากนัก มีเพียงอินเดียชาติเดียวที่พัฒนาอุตสาหกรรมได้เจริญรุ่งเรือง เพราะได้รับการช่วยเหลือจากประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของเอเชีย คือ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และไต้หวัน นอกจากนี้ ภาษาที่ใช้ในเอเชียใต้มีมากถึง 800 ภาษา แต่ภาษากลางจะใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร เมืองที่ใหญ่ที่สุดของเอเชียใต้ คือ มุมไบ ซึ่งเป็นเมืองท่าทางตะวันตกของประเทศอินเดีย

 
เมืองมุมไบเมืองท่าที่สำคัญของเอเชียใต้
ธงดินแดน ดินแดน เมืองหลวงประจำดินแดน พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (2552) ความหนาแน่น
  อินเดีย นิวเดลี 3,287,240 1,198,003,000 365
  ปากีสถาน อิสลามาบัด 803,940 180,808,000 225
  บังกลาเทศ ธากา 147,570 162,221,000 1,099
  เนปาล กาฐมาณฑุ 147,181 29,331,000 200
  ศรีลังกา ศรีชัยวรเทนปุระ-โกตเต 65,610 20,238,000 309
  ภูฏาน ทิมพู 48,394 697,000 18
  มัลดีฟส์ มาเล 300 316,314 1,330

เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ แก้

 
เอเชียตะวันตกเฉียงใต้

เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ หรือ ตะวันออกกลาง หรือ เอเชียตะวันตก มีพื้นที่ประมาณ 6,835,434 ตารางกิโลเมตร เป็นดินแดนที่ปกคลุมไปด้วยทะเลทรายแห้งแล้งกว้างใหญ่ ในภูมิภาคนี้ยังมีแม่น้ำสายสำคัญที่เป็นแหล่งอารยธรรมโลก คือ แม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีสในประเทศอิรัก เป็นบริเวณที่มีการทำการเกษตรได้ดีที่สุด ด้วยลักษณะทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นทะเลทราย ดินแดนแถบนี้จึงอุดมไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน ทำให้น้ำมันกลายเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศในแถบนี้ อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ยังให้กำเนิดศาสนาที่สำคัญ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนายูดาย และศาสนาอิสลาม ถึงแม้ว่าดินแดนแถบนี้จะแห้งแล้ง แต่เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง เพราะมีอาณาเขตติดต่อกับทวีปแอฟริกาทางด้านตะวันตก และทวีปยุโรปทางตะวันตกเฉียงเหนือและทิศเหนือ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีลักษณะส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง (เช่น ที่ราบสูงอิหร่านและที่ราบสูงอานาโตเลีย) นอกจากนี้ ยังมีบริเวณที่เป็นคาบสมุทรที่สำคัญ คือ คาบสมุทรอาหรับ

ลักษณะทางเศรษฐกิจของภูมิภาคนี้ คือ อุตสาหกรรมน้ำมัน (โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย เป็นประเทศที่มีน้ำมันสำรองมากที่สุดในโลก) ประเทศที่มีความเจริญทางด้านอุตสาหกรรมมากที่สุดในภูมิภาคนี้ คือ ตุรกี

บางประเทศอาจถูกจัดให้อยู่ในทวีปยุโรปแทน เนื่องจากมีลักษณะทางวัฒนธรรมจากทวีปยุโรปมากกว่า ได้แก่ ตุรกี ไซปรัส อาร์มีเนีย จอร์เจีย และอาเซอร์ไบจาน

ไฟล์:2. Abu Dhabi (1).jpg
ทัศนียภาพของเมืองดูไบ ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ธงดินแดน ดินแดน เมืองหลวงประจำดินแดน พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร (2552) ความหนาแน่น
  ซาอุดีอาระเบีย ริยาด 1,960,582 28,686,633 15
  อิหร่าน เตหะราน 1,648,195 74,196,000 45
  ตุรกี อังการา 783,562 74,816,000 95
  อัฟกานิสถาน คาบูล 647,500 31,889,923 49
  เยเมน ซันอา 527,090 23,580,000 45
  อิรัก แบกแดด 438,317 31,234,000 71
  โอมาน มัสกัต 236,800 3,200,000 15
  ซีเรีย ดามัสกัส 185,180 21,906,000 118
  จอร์แดน อัมมาน 92,300 6,318,677 68
  อาเซอร์ไบจาน บากู 86,600 8,922,000 103
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาบูดาบี 82,880 6,888,888 8
  คูเวต คูเวตซิตี 17,820 3,100,000 174
  กาตาร์ โดฮา 11,437 1,409,000 123
  เลบานอน เบรุต 10,452 4,224,000 404
  ไซปรัส นิโคเซีย 9,250 801,622 90
  บาห์เรน มานามา 665 791,000 1,189

เขตแอฟริกา แก้

การแบ่งภูมิภาค แก้

แบ่งการปกครองแบบภูมิภาคได้ 5 ภูมิภาคใหญ่ ๆ ดังนี้

 
การแบ่งภูมิภาคของทวีปแอฟริกา
 
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปแอฟริกา
 
แผนที่ภูมิภาคแอฟริกา
ภูมิภาค ลำดับ ดินแดน พื้นที่ (ตร.กม ประชากร (2552) ความหนาแน่น
 

แอฟริกาเหนือ
ประเทศ
1
  ซูดาน 2,505,810 41,087,825 16.4
1
  เซาท์ซูดาน 619,745 8,260,490 57.0
2
  ตูนิเซีย 163,610 10,486,339 64.1
3
  โมร็อกโก 446,550 34,859,364 78.0
4
  ลิเบีย 1,759,540 6,310,434 3.6
5
  อียิปต์ 1,001,450 83,082,869 82.9
6
  แอลจีเรีย 2,381,740 34,178,188 14.3
7
  เวสเทิร์นสะฮารา 266,000 405,210 1.5
ดินแดน
1
  หมู่เกาะคะเนรี (สเปน) 7,492 1,694,477(2544) 226.2
2
  เซวตา (สเปน) 20 71,505(2544) 3,575.2
3
  มาเดรา (โปรตุเกส) 797 245,000(2544) 307.4
4
  เมลียา (สเปน) 12 66,411(2544) 5,534.2
สถิติ
8,533,021 212,487,622 24.9
 

แอฟริกากลาง
1
  กาบอง 267,667 1,514,993 5.6
2
  แคเมอรูน 475,440 18,879,301 39.7
3
  ชาด 1,284,000 10,329,208 8.0
4
  เซาตูเมและปรินซิปี 1,001 212,679 212.4
5
  สาธารณรัฐคองโก 342,000 4,012,809 11.7
6
  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) 2,345,410 68,692,542 29.2
7
  ประเทศแอฟริกากลาง 622,984 4,511,488 7.2
8
  อิเควทอเรียลกินี 28,051 633,441 22.6
9
  แองโกลา 1,246,700 12,799,293 10.3
สถิติ
6,613,253 121,585,754 18.39
 

แอฟริกาใต้
1
  นามิเบีย 825,418 2,108,665 2.6
2
  บอตสวานา 600,370 1,990,876 3.3
3
  เลโซโท 30,355 2,130,819 70.2
4
  สวาซิแลนด์ 17,363 1,123,913 64.7
5
  แอฟริกาใต้ 1,219,912 49,052,489 40.2
6
  ซิมบับเว 390,580 11,392,629 29.1
สถิติ
3,083,998 67,799,391 21.98
 

แอฟริกาตะวันออก
ประเทศ
1
  บุรุนดี 27,830 8,988,091 322.9
2
  คอโมโรส 2,170 752,438 346.7
3
  จิบูตี 23,000 516,055 22.4
4
  เอริเทรีย 121,320 5,647,168 46.5
5
  เอธิโอเปีย 1,127,127 85,237,338 75.6
6
  เคนยา 582,650 39,002,772 66.0
7
  มาดากัสการ์ 587,040 20,653,556 35.1
8
  มาลาวี 118,480 14,268,711 120.4
9
  มอริเชียส 2,040 1,284,264 629.5
10
  โมซัมบิก 801,590 21,669,278 27.0
11
  รวันดา 26,338 10,473,282 397.6
12
  เซเชลส์ 455 87,476 192.2
13
  โซมาเลีย 637,657 9,832,017 15.4
14
  แทนซาเนีย 945,087 41,048,532 43.3
15
  ยูกันดา 236,040 32,369,558 137.1
16
  แซมเบีย 752,614 11,862,740 15.7
ดินแดน
1
  มายอต (ฝรั่งเศส) 374 223,765 489.7
2
  เรอูนียง (ฝรั่งเศส) 2,512 743,981(2545) 296.2
สถิติ
5,994,324 311,357,022 51.9
 

แอฟริกาตะวันตก
ประเทศ
1
  เบนิน 112,620 8,791,832 78.0
2
  บูร์กินาฟาโซ 274,200 15,746,232 57.4
3
  เคปเวิร์ด 4,033 429,474 107.3
4
  โกตดิวัวร์ 322,460 20,617,068 63.9
5
  แกมเบีย 11,300 1,782,893 175.7
6
  กานา 239,460 23,832,495 99.5
7
  กินี 245,857 10,057,975 40.9
8
  กินี-บิสเซา 36,120 1,533,964 42.5
9
  ไลบีเรีย 111,370 3,441,790 30.9
10
  มาลี 1,240,000 12,666,987 10.2
11
  มอริเตเนีย 1,030,700 3,129,486 3.0
12
  ไนเจอร์ 1,267,000 15,306,252 12.1
13
  ไนจีเรีย 923,768 149,229,090 161.5
14
  เซเนกัล 196,190 13,711,597 69.9
15
  เซียร์ราลีโอน 71,740 6,440,053 89.9
16
  โตโก 56,785 6,019,877 106
ดินแดน
1
  เซนต์เฮเลนา (สหราชอาณาจักร) 410 7,637 14.4
สถิติ
6,144,013 296,186,492 48.2
รวมสถิติสูงสุด
30,368,609 1,001,320,281 33.0

ที่สุดของประเทศ แก้

จุดเหนือสุด: แหลมชิลยูสกิน ประเทศรัสเซีย
จุดใต้สุด: แหลมปิไอ ประเทศมาเลเซีย
จุดตะวันออกสุด: แหลมเดจนอฟ ประเทศรัสเซีย
จุดตะวันตกสุด: แหลมบาบา ประเทศตุรกี
ยอดเขาที่สูงที่สุด: ยอดเขาเอเวอเรสต์* เอเชียใต้และเอเชียตะวันออก
แม่น้ำสายยาวที่สุด: แม่น้ำแยงซี ประเทศจีน
เกาะที่ใหญ่ที่สุด: เกาะบอร์เนียว ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน
แอ่งน้ำใหญ่ที่สุด: แม่น้ำอ็อบ ประเทศรัสเซีย
ทะเลสาบใหญ่ที่สุด: ทะเลแคสเปียน เอเชียกลางและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้
ผิวน้ำต่ำที่สุด: ทะเลเดดซี* ประเทศอิสราเอลและจอร์แดน ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 400 เมตร
ผืนแผ่นดินต่ำที่สุด: ก้นทะเลสาบไบคาลในไซบีเรีย* ประเทศรัสเซีย ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง 1,750 เมตร
ปริมาณน้ำฝนสูงที่สุด: รัฐอัสสัม* ประเทศอินเดีย 10,719 มิลลิเมตรต่อปี

* เป็นข้อมูลที่สุดในโลกด้วย