นิวเดลี (อังกฤษ: New Delhi; /ˈdɛli/ ( ฟังเสียง),[4][5] ภาษาฮินดี: [nəiː dɪlliː] นะอี ดิลลี - Naī Dillī) เป็นเขตชนิดนครที่ตั้งอยู่ในเมืองเดลี นิวเดลีเป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดีย และเป็นที่ตั้งของหน่วยงานทั้งสามสาขาหลักของรัฐบาลอินเดีย

นิวเดลี
ตราอย่างเป็นทางการของนิวเดลี
ตรา
นิวเดลีตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
นิวเดลี
นิวเดลี
ที่ตั้งของนิวเดลี
นิวเดลีตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
นิวเดลี
นิวเดลี
นิวเดลี (ทวีปเอเชีย)
พิกัด: 28°36′50″N 77°12′32″E / 28.61389°N 77.20889°E / 28.61389; 77.20889พิกัดภูมิศาสตร์: 28°36′50″N 77°12′32″E / 28.61389°N 77.20889°E / 28.61389; 77.20889
ประเทศ อินเดีย
ยูทีเดลี
สถาปนา1911
เปิดทางการ1931
การปกครอง
 • ประเภทองค์การบริหารเทศบาล
 • องค์กรสภาเทศบาลนิวเดลี
พื้นที่[1]
 • เมืองหลวง42.7 ตร.กม. (16.5 ตร.ไมล์)
ความสูง216 เมตร (709 ฟุต)
ประชากร
 (2011)[2]
 • เมืองหลวง257,803 คน
 • ความหนาแน่น6,000 คน/ตร.กม. (16,000 คน/ตร.ไมล์)
 • อำเภอ142,004
 • นคร (2016)[3]26,454,000
เดมะนิมทิลลิวาเล (Dilliwale) / ชาวเดลี (Delhite)
เขตเวลาUTC+05:30 (IST)
รหัสพิน110xxx
รหัสพื้นที่+91-11
ทะเบียนพาหนะDL-1x-x-xxxx to DL-14x-x-xxxx
เว็บไซต์www.ndmc.gov.in

ศิลาฤกษ์ของนิวเดลีนั้นวางโดยพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร ขณะเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศอินเดียเมื่อปี 1911[6] เมืองนิวเดลีนั้นออกแบบโดยสถาปนิกชาวบริเตน เซอร์เอ็ดเว็น เลิทเย็นส์ (Sir Edwin Lutyens) และ เซอร์ฮาร์เบิร์ท เบเคอร์ (Sir Herbert Baker) พิธีเปิดนิวเดลีมีขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 1931[7] โดยอุปราชและนายพลเทศมนตรีแห่งอินเดีย ลอร์ดเออร์วิน (Lord Irwin)

ภูมิอากาศ แก้

ข้อมูลภูมิอากาศของนิวเดลึ
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 28.6
(83.5)
31.8
(89.2)
39.4
(102.9)
43.2
(109.8)
47.2
(117)
45.0
(113)
43.3
(109.9)
41.8
(107.2)
39.2
(102.6)
38.1
(100.6)
33.6
(92.5)
29.1
(84.4)
47.2
(117)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 21.1
(70)
24.2
(75.6)
30.0
(86)
36.2
(97.2)
39.6
(103.3)
39.3
(102.7)
35.1
(95.2)
33.3
(91.9)
33.9
(93)
32.9
(91.2)
28.3
(82.9)
23.0
(73.4)
31.4
(88.5)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 7.3
(45.1)
10.1
(50.2)
15.4
(59.7)
21.5
(70.7)
25.9
(78.6)
28.3
(82.9)
26.6
(79.9)
25.9
(78.6)
24.4
(75.9)
19.5
(67.1)
12.8
(55)
8.2
(46.8)
18.8
(65.8)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -0.6
(30.9)
1.8
(35.2)
5.3
(41.5)
12.9
(55.2)
15.5
(59.9)
19.9
(67.8)
20.1
(68.2)
21.2
(70.2)
17.3
(63.1)
12.8
(55)
6.8
(44.2)
1.3
(34.3)
−0.6
(30.9)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 20.3
(0.799)
15.0
(0.591)
15.8
(0.622)
6.7
(0.264)
17.5
(0.689)
54.9
(2.161)
231.5
(9.114)
258.7
(10.185)
127.8
(5.031)
36.3
(1.429)
5.0
(0.197)
7.8
(0.307)
797.3
(31.39)
ความชื้นร้อยละ 63 55 47 34 33 46 70 73 62 52 55 62 54.3
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย (≥ 1.0mm) 1.7 1.3 1.2 0.9 1.4 3.6 10.0 11.3 5.4 1.6 0.1 0.6 39.1
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 213.9 217.5 238.7 261.0 263.5 198.0 167.4 176.7 219.0 269.7 246.0 217.0 2,688.4
แหล่งที่มา 1: WMO,[8] NOAA (extremes and humidity, 1971-1990) [9]
แหล่งที่มา 2: HKO (sun only, 1971-1990) [10]

เมืองพี่น้อง แก้

เมือง เขตการปกครอง รัฐเอกราช ปี
ชิคาโก้ รัฐอิลลินอย   สหรัฐ 2001
อูลานบาตาร์ อูลานบาตาร์   มองโกเลีย 2001
ลอนดอน เกรเทอร์ลอนดอน และ นครลอนดอน   สหราชอาณาจักร 2002
มอสโก เขตสหพันธ์กลาง   รัสเซีย 2002
เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก เขตสหพันธ์ตะวันตกเฉียงเหนือ   รัสเซีย 2002
โจฮันเนสเบิร์ก นครโจฮันเนสเบิร์ก   แอฟริกาใต้ 2007
มะนิลา เมโทรมะนิลา   ฟิลิปปินส์ [11][12]

อ้างอิง แก้

  1. Amanda Briney. "Geography of New Delhi". About.com Education.
  2. "Delhi (India): Districts, Cities and Towns - Population Statistics, Charts and Map". City Population. สืบค้นเมื่อ 21 March 2017.
  3. "The World's Cities in 2016" (PDF). United Nations. October 2016. p. 4. สืบค้นเมื่อ 4 March 2017.
  4. Wells, John C. (2008), Longman Pronunciation Dictionary (3rd ed.), Longman, ISBN 9781405881180
  5. Roach, Peter (2011), Cambridge English Pronouncing Dictionary (18th ed.), Cambridge: Cambridge University Press, ISBN 9780521152532
  6. Lahiri, Tripti (13 January 2012). "New Delhi: One of History's Best-Kept Secrets". The Wall Street Journal.
  7. Stancati, Margherita (8 December 2011). "New Delhi becomes the capital of Independent India". The Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ 11 December 2011.
  8. "World Weather Information Service - New Delhi". World Meteorological Organisation. สืบค้นเมื่อ 2011-05-04.
  9. "New Delhi Climate Normals 1971-1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ December 21, 2012.
  10. "Climatological Normals of New Delhi, India". Hong Kong Observatory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-11-02. สืบค้นเมื่อ 2011-05-04.
  11. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-06. สืบค้นเมื่อ 2013-03-20.
  12. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-17. สืบค้นเมื่อ 2013-03-20.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้