ประเทศเอริเทรีย

15°N 39°E / 15°N 39°E / 15; 39

รัฐเอริเทรีย

ሃገረ ኤርትራ (ทือกรึญญา)
دولة إرتريا (อาหรับ)
State of Eritrea (อังกฤษ)
ตราแผ่นดินของเอริเทรีย
ตราแผ่นดิน
ที่ตั้งของเอริเทรีย
ที่ตั้งของเอริเทรีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
แอสมารา
15°20′N 38°55′E / 15.333°N 38.917°E / 15.333; 38.917
ภาษาราชการภาษาทือกรึญญา1 ภาษาอาหรับ1 และภาษาอังกฤษ1
กลุ่มชาติพันธุ์
(2012[1])
เดมะนิมเอริเทรียน
การปกครองรัฐเดี่ยว พรรคเดียว สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดี[2][3][4][5][6]
อีซาเอียส อาเฟเวร์กี
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
เอกราช
• จากอิตาลี
พฤศจิกายน พ.ศ. 2484
• จากเอธิโอเปียโดยพฤตินัย
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2534
• จากเอธิโอเปียโดยนิตินัย
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2536
พื้นที่
• รวม
117,600 ตารางกิโลเมตร (45,400 ตารางไมล์) (99)
เล็กน้อย
ประชากร
• พ.ศ. 2549 ประมาณ
4,786,994 (114)
• สำมะโนประชากร พ.ศ. 2545
4,298,269
37 ต่อตารางกิโลเมตร (95.8 ต่อตารางไมล์) (165)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 9.631 พันล้าน
$ 1,433
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 6.050 พันล้าน
$ 900
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.459[7]
ต่ำ · 180
สกุลเงินนัฟกาเอริเทรีย (ERN)
เขตเวลาUTC+3 (EAT)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+3
รหัสโทรศัพท์291
โดเมนบนสุด.er
1เป็นภาษาใช้งาน

เอริเทรีย (อังกฤษ: Eritrea; ทือกรึญญา: ኤርትራ; อาหรับ: إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (อังกฤษ: State of Eritrea; ทือกรึญญา: ሃገረ ኤርትራ; อาหรับ: دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมารา

ประวัติศาสตร์

แก้

ประเทศเอริเทรียในปัจจุบันเดิมเป็นที่ตั้งของอาณาจักรโบราณที่ชื่อ ปุนต์ ซึ่งปรากฏในพงศาวดารอียิปต์ ที่อียิปต์ไปทำการค้ากับอาณาจักรปุนต์ ในรัชสมัยของฟาโรห์หญิงฮัตเชปซุต แห่งราชอาณาจักรอียิปต์

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

ประเทศเอริเทรียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 แคว้น (region-zobas) โดยแบ่งย่อยออกเป็น เขต (sub-region-sub-zobas) ได้แก่

  1. แคว้นมาเกล
  2. แคว้นเดบับ
  3. แคว้นกาช-บาร์กา
  4. แคว้นอันเซบา
  5. แคว้นนอร์เทิร์นเรดซี
  6. แคว้นเซาเทิร์นเรดซี

ประชากร

แก้

เชื้อชาติ

แก้

ศาสนา

แก้

ศาสนาคริสต์ (นิกายเอริเทรียนคอปติกออร์ทอดอกซ์ นิกายโรมันคาทอลิก และนิกายโปรเตสแตนต์) ร้อยละ 50 และศาสนาอิสลามนิกายซุนนีร้อยละ 50

อ้างอิง

แก้
  1. CIA – Eritrea – Ethnic groups เก็บถาวร 2019-01-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Cia.gov. Retrieved 25 June 2012.
  2. "Report of the commission of inquiry on human rights in Eritrea". UNHRC website. 8 June 2015. สืบค้นเมื่อ 9 June 2015.
  3. "World Report 2017: Rights Trends in Eritrea". Human Rights Watch. 12 January 2017.
  4. Saad, Asma (21 February 2018). "Eritrea's Silent Totalitarianism".
  5. Keane, Fergal (10 July 2018). "Making peace with 'Africa's North Korea'" – โดยทาง www.bbc.com.
  6. Taylor, Adam (12 June 2015). "The brutal dictatorship the world keeps ignoring". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 20 May 2019.
  7. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.