สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

จังหวัดชลบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 10 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดชลบุรี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต10
คะแนนเสียง318,857 (ก้าวไกล)
281,194 (เพื่อไทย)
232,155 (รวมไทยสร้างชาติ)
44,879 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (7)
เพื่อไทย (1)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
พลังประชารัฐ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดชลบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายนิติ โสรัต

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง และอำเภอพนัสนิคม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านบึง, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และกิ่งอำเภอสีชัง
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง และอำเภอพนัสนิคม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านบึง, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ, กิ่งอำเภอสีชัง และกิ่งอำเภอหนองใหญ่
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพนัสนิคม, อำเภอพานทอง, อำเภอบ้านบึง, กิ่งอำเภอหนองใหญ่ และกิ่งอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และกิ่งอำเภอเกาะสีชัง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง, อำเภอพนัสนิคม, อำเภอบ้านบึง, อำเภอหนองใหญ่ และกิ่งอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และกิ่งอำเภอเกาะสีชัง
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพนัสนิคม, อำเภอพานทอง, อำเภอบ้านบึง, อำเภอหนองใหญ่ และอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และกิ่งอำเภอเกาะสีชัง
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง, อำเภอพนัสนิคม และอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองใหญ่, อำเภอบ้านบึง, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และกิ่งอำเภอเกาะสีชัง
6 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง, อำเภอพนัสนิคม, และอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองใหญ่, อำเภอบ้านบึง, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และอำเภอเกาะสีชัง
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง, อำเภอพนัสนิคม และอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองใหญ่, อำเภอบ้านบึง, อำเภอศรีราชา และอำเภอเกาะสีชัง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางละมุงและอำเภอสัตหีบ
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลเหมือง ตำบลแสนสุข ตำบลบ้านปึก ตำบลอ่างศิลา ตำบลเสม็ด ตำบลห้วยกะปิ ตำบลหนองข้างคอก ตำบลหนองรี และตำบลบ้านสวน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพานทอง, อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลบางปลาสร้อย ตำบลมะขามหย่ง ตำบลบ้านโขด ตำบลบางทราย ตำบลหนองไม้แดง ตำบลคลองตำหรุ ตำบลดอนหัวฬ่อ ตำบลนาป่า และตำบลสำนักบก) และอำเภอบ้านบึง (เฉพาะตำบลหนองซ้ำซาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพนัสนิคมและกิ่งอำเภอเกาะจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ่อทอง, อำเภอหนองใหญ่ และอำเภอบ้านบึง (ยกเว้นตำบลหนองซ้ำซาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลทุ่งสุขลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเกาะสีชัง, อำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลทุ่งสุขลา) และอำเภอบางละมุง (ยกเว้นตำบลห้วยใหญ่ ตำบลโป่ง และตำบลเขาไม้แก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสัตหีบและอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลห้วยใหญ่ ตำบลโป่ง และตำบลเขาไม้แก้ว)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลแสนสุข ตำบลเหมือง ตำบลบ้านปึก ตำบลเสม็ด ตำบลอ่างศิลา และตำบลบ้านสวน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองชลบุรี (ยกเว้นตำบลแสนสุข ตำบลเหมือง ตำบลบ้านปึก ตำบลเสม็ด ตำบลอ่างศิลา และตำบลบ้านสวน) และอำเภอพานทอง (เฉพาะตำบลบางนาง ตำบลบ้านเก่า และตำบลหนองตำลึง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพนัสนิคม และอำเภอพานทอง (ยกเว้นตำบลบางนาง ตำบลบ้านเก่า และตำบลหนองตำลึง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ่อทอง, อำเภอหนองใหญ่, อำเภอบ้านบึง (เฉพาะตำบลหนองชาก ตำบลหนองอิรุณ และตำบลหนองไผ่แก้ว) และกิ่งอำเภอเกาะจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเกาะสีชัง และอำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลบึง ตำบลเขาคันทรง และตำบลบ่อวิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอบ้านบึง (ยกเว้นตำบลหนองชาก ตำบลหนองอิรุณ และตำบลหนองไผ่แก้ว), อำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลเขาไม้แก้ว ตำบลโป่ง ตำบลบางละมุง และตำบลตะเคียนเตี้ย) และอำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลบึง ตำบลเขาคันทรง และตำบลบ่อวิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลหนองปรือ ตำบลหนองปลาไหล และตำบลนาเกลือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอสัตหีบ และอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลห้วยใหญ่)
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง และอำเภอพนัสนิคม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสัตหีบ, อำเภอบางละมุง, อำเภอเกาะสีชัง และอำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลศรีราชา ตำบลสุรศักดิ์ และตำบลทุ่งสุขลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกาะจันทร์, อำเภอบ่อทอง, อำเภอหนองใหญ่, อำเภอบ้านบึง และอำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลศรีราชา ตำบลสุรศักดิ์ และตำบลทุ่งสุขลา)
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน
ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลสำนักบก ตำบลนาป่า ตำบลหนองรี ตำบลหนองข้างคอก ตำบลห้วยกะปิ ตำบลเหมือง ตำบลแสนสุข ตำบลบ้านปึก ตำบลอ่างศิลา และตำบลเสม็ด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลบ้านสวน ตำบลบางปลาสร้อย ตำบลมะขามหย่ง ตำบลบ้านโขด ตำบลบางทราย ตำบลหนองไม้แดง ตำบลคลองตำหรุ และตำบลดอนหัวฬ่อ) และอำเภอพานทอง (ยกเว้นตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกาะจันทร์, อำเภอพนัสนิคม และอำเภอพานทอง (เฉพาะตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านบึง, อำเภอหนองใหญ่ และอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเกาะสีชัง, อำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง) และอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลบางละมุง ตำบลนาเกลือ ตำบลหนองปลาไหล และตำบลตะเคียนเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลเขาไม้แก้ว ตำบลโป่ง ตำบลหนองปรือ และตำบลห้วยใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอสัตหีบ
  8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลสำนักบก ตำบลนาป่า ตำบลหนองรี ตำบลหนองข้างคอก ตำบลห้วยกะปิ ตำบลเหมือง ตำบลแสนสุข ตำบลบ้านปึก ตำบลอ่างศิลา และตำบลเสม็ด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลบ้านสวน ตำบลบางปลาสร้อย ตำบลมะขามหย่ง ตำบลบ้านโขด ตำบลบางทราย ตำบลหนองไม้แดง ตำบลคลองตำหรุ และตำบลดอนหัวฬ่อ) และอำเภอพานทอง (ยกเว้นตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเกาะจันทร์, อำเภอพนัสนิคม และอำเภอพานทอง (เฉพาะตำบลมาบโป่งและตำบลหนองหงษ์)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านบึง, อำเภอหนองใหญ่ และอำเภอบ่อทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเกาะสีชังและอำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลทุ่งสุขลาและตำบลบึง) และอำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลบางละมุง ตำบลนาเกลือ ตำบลหนองปลาไหล และตำบลตะเคียนเตี้ย)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลเขาไม้แก้ว ตำบลโป่ง ตำบลหนองปรือ และตำบลห้วยใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอสัตหีบ
  8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลแสนสุข ตำบลบ้านปึก ตำบลอ่างศิลา ตำบลเสม็ด ตำบลห้วยกะปิ ตำบลเหมือง ตำบลหนองข้างคอก และตำบลหนองรี)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลบ้านสวน ตำบลบางปลาสร้อย ตำบลมะขามหย่ง ตำบลบ้านโขด ตำบลบางทราย และตำบลนาป่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพานทอง, อำเภอเมืองชลบุรี (เฉพาะตำบลหนองไม้แดง ตำบลคลองตำหรุ ตำบลดอนหัวฬ่อ และตำบลสำนักบก) และอำเภอบ้านบึง (เฉพาะตำบลหนองซ้ำซาก ตำบลมาบไผ่ ตำบลหนองบอนแดง และตำบลหนองชาก)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ่อทอง, อำเภอหนองใหญ่ และอำเภอบ้านบึง (เฉพาะตำบลบ้านบึง ตำบลคลองกิ่ว ตำบลหนองไผ่แก้ว และตำบลหนองอิรุณ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพนัสนิคมและอำเภอเกาะจันทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเกาะสีชังและอำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลบางพระ ตำบลศรีราชา ตำบลสุรศักดิ์ และตำบลทุ่งสุขลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลหนองขาม ตำบลเขาคันทรง ตำบลบ่อวิน และตำบลบึง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอบางละมุง (ยกเว้นตำบลหนองปรือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอบางละมุง (เฉพาะตำบลหนองปรือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอสัตหีบ
  10 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

แก้
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายนิติ โสรัต
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายเสงี่ยม เจริญฮวด
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายจันทรเขตร์ ฉัตรภูติ
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายธรรมนูญ เทียนเงิน
สิงหาคม พ.ศ. 2489 หม่อมเจ้านนทิยาวัด สวัสดิวัตน์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายชวลิต อภัยวงศ์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายชาย สุอังคะ

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

แก้
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
พลตรี ศิริ สิริโยธิน พลตรี ศิริ สิริโยธิน
พันเอก ประยงค์ เฉลิมสุข นายธรรมนูญ เทียนเงิน

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

แก้
      พรรคอิสระ
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายประสงค์ เนื่องจำนงค์
2 พลตรี ศิริ สิริโยธิน
3 นายอุทัย พิมพ์ใจชน

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสันติชน
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายอุทัย พิมพ์ใจชน
นายบุญชู โรจนเสถียร
2 นายดรงค์ สิงห์โตทอง นายประสิทธิ์ จิตต์อารีย์
นายประจวบ ศิริวรวาท พลตรี ศิริ สิริโยธิน

ชุดที่ 13–15; พ.ศ. 2522–2529

แก้
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคก้าวหน้า
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
1 นายประโยชน์ เนื่องจำนงค์ นายประโยชน์ เนื่องจำนงค์ นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์
นายดรงค์ สิงห์โตทอง พันตำรวจตรี รุ่งโรจน์ เรืองฤทธิ์
นายโกวิท ศรีสวัสดิ์ นายอุทัย พิมพ์ใจชน
2 พลตรี ศิริ สิริโยธิน (เสียชีวิต) นายนิคม แสนเจริญ
นายคณิน บุญสุวรรณ (แทนพลตรี ศิริ)
จ่าสิบเอก อุดม โอภาศรี นายจรูญ งามพิเชษฐ์

ชุดที่ 16–19; พ.ศ. 2531–2538

แก้
      พรรคก้าวหน้า (2531) → พรรคเอกภาพ (2535)
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538
1 นายนิคม แสนเจริญ นายสง่า ธนสงวนวงศ์ นายวิทยา คุณปลื้ม นายวิทยา คุณปลื้ม
นายอุทัย พิมพ์ใจชน นางสาวเสาวลักษณ์ สุริยาทิพย์ นายสง่า ธนสงวนวงศ์
นายเทอดธรรม อัมราลิขิต นายเทอดธรรม อัมราลิขิต นายคณิน บุญสุวรรณ นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
2 นายดรงค์ สิงห์โตทอง นายสนธยา คุณปลื้ม นายสนธยา คุณปลื้ม นายสนธยา คุณปลื้ม
นายจรูญ งามพิเชษฐ์ นายสันตศักด์ งามพิเชษฐ์ นายธงชัย พิมพ์สกุล นายสันตศักด์ งามพิเชษฐ์
นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ นายอุทัย พิมพ์ใจชน นายสุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์

ชุดที่ 20; พ.ศ. 2539

แก้
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายวิทยา คุณปลื้ม
นายสง่า ธนสงวนวงศ์
นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง
2 นายสนธยา คุณปลื้ม
นายสุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์
3 นายสันตศักด์ งามพิเชษฐ์
นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคชาติไทย
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายสง่า ธนสงวนวงศ์ นายสง่า ธนสงวนวงศ์
2 นายวิทยา คุณปลื้ม นายอัมรินทร์ ตั้งประกอบ
3 นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง นายวิทยา คุณปลื้ม
4 นายสุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์ นายสุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์
5 นายอิทธิพล คุณปลื้ม นายอิทธิพล คุณปลื้ม
6 นายชาญศักดิ์ ชวลิตนิติธรรม นายชาญยุทธ เฮงตระกูล
7 พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายประมวล เอมเปีย
นายบรรจบ รุ่งโรจน์
นายมานิตย์ ภาวสุทธิ์
2 นางพจนารถ แก้วผลึก
นายฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์
นายไมตรี สอยเหลือง
3 นายสรวุฒิ เนื่องจำนงค์
พลตำรวจตรีวีระ อนันตกูล

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

แก้
      พรรคพลังชล
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
      พรรคอนาคตใหม่พรรคพลังท้องถิ่นไท
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายสุชาติ ชมกลิ่น นายสุชาติ ชมกลิ่น
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
2 นายอุกฤษณ์ ตั๊นสวัสดิ์
(ศาลฎีกาสั่งเลือกตั้งซ่อม / เลือกตั้งซ่อม)
ร้อยเอก จองชัย วงศ์ทรายทอง
3 นายรณเทพ อนุวัฒน์ นายรณเทพ อนุวัฒน์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
4 นายสรวุฒิ เนื่องจำนงค์ นายสรวุฒิ เนื่องจำนงค์
5 นายพันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา นายขวัญเลิศ พานิชมาท
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
6 นางสุกุมล คุณปลื้ม นายจรัส คุ้มไข่น้ำ
7 นายปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ นางสาวกวินนาถ ตาคีย์
8 พลเรือเอก สุรพล จันทน์แดง นายสะถิระ เผือกประพันธุ์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

แก้
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวรท ศิริรักษ์
2 นางสาววรรณิดา นพสิทธิ์
3 นายชวาล พลเมืองดี
4 นายจิรวุฒิ สิงห์โตทอง
5 นายอนันต์ ปรีดาสุทธิจิตต์
6 นางสาวกฤษฏิ์ ชีวะธรรมานนท์
7 นายสหัสวัต คุ้มคง
8 นายจรัส คุ้มไข่น้ำ
9 นายยอดชาย พึ่งพร
10 นายสะถิระ เผือกประพันธุ์

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้