สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม
จังหวัดนครปฐม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดนครปฐม | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 6 |
คะแนนเสียง | 172,582 (ก้าวไกล) 159,712 (ชาติไทยพัฒนา) 88,821 (รวมไทยสร้างชาติ) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ประชาชน (2) ชาติไทยพัฒนา (3) รวมไทยสร้างชาติ (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนครปฐมมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายดาบ เทียม ศรีพิสิฐ[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายชาญชัย ปทุมารักษ์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีชุดแรกของจังหวัดนครปฐม คือ นางสาวสุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา และนางจุมพิตา จันทรขจร (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- สะสมทรัพย์ (5 คน) ได้แก่ นายไชยยศ สะสมทรัพย์ นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ นายไชยา สะสมทรัพย์ นายอนุชา สะสมทรัพย์ และนายพาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | |||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอกำแพงแสน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม, อำเภอนครชัยศรี และอำเภอสามพราน |
4 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม และ อำเภอกำแพงแสน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม, อำเภอนครชัยศรี, อำเภอสามพราน และกิ่งอำเภอพุทธมณฑล | ||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม, อำเภอนครชัยศรี, อำเภอสามพราน และกิ่งอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสน, อำเภอดอนตูม และอำเภอบางเลน |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ ตำบลพระประโทน ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลสนามจันทร์ ตำบลบางแขม (ในเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลลำพยา ตำบลหนองปากโลง และตำบลโพรงมะเดื่อ] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง และตำบลตาก้อง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม และอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลมาบแค ตำบลทุ่งน้อย และตำบลสามควายเผือก) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด ตำบลดอนยายหอม ตำบลบางแขม (นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลวังเย็น ตำบลหนองดินแดง ตำบลสระกะเทียม และตำบลสวนป่าน] · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพรานและอำเภอพุทธมณฑล |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม, อำเภอกำแพงแสน และอำเภอนครชัยศรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน, อำเภอพุทธมณฑล และอำเภอสามพราน |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ ตำบลพระประโทน ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลสนามจันทร์ ตำบลบางแขม (ในเขตเทศบาลนครนครปฐม) ตำบลลำพยา ตำบลหนองปากโลง ตำบลโพรงมะเดื่อ ตำบลหนองดินแดง ตำบลสระกะเทียม และตำบลสวนป่าน] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง และตำบลมาบแค) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอเมืองนครปฐม [เฉพาะตำบลทุ่งน้อย ตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด ตำบลดอนยายหอม ตำบลบางแขม (นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม) และตำบลวังเย็น] · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพราน |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม (ยกเว้นตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง ตำบลมาบแค ตำบลทุ่งน้อย ตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด และตำบลดอนยายหอม) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกำแพงแสนและอำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลหนองงูเหลือม ตำบลทัพหลวง ตำบลตาก้อง ตำบลมาบแค และตำบลทุ่งน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนครชัยศรี, อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลสามควายเผือก ตำบลธรรมศาลา ตำบลถนนขาด และตำบลดอนยายหอม) และอำเภอสามพราน (เฉพาะตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา และตำบลบางช้าง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามพราน (ยกเว้นตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา และตำบลบางช้าง) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลสวนป่าน ตำบลสระกะเทียม ตำบลหนองดินแดง ตำบลวังเย็น ตำบลบางแขม ตำบลดอนยายหอม ตำบลถนนขาด ตำบลพระประโทน ตำบลธรรมศาลา และตำบลสามควายเผือก) และอำเภอสามพราน (เฉพาะตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา ตำบลบางช้าง ตำบลคลองใหม่ ตำบลท่าตลาด และตำบลหอมเกร็ด) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลบ้านยาง ตำบลโพรงมะเดื่อ ตำบลหนองปากโลง ตำบลวังตะกู ตำบลนครปฐม ตำบลลำพยา ตำบลสนามจันทร์ ตำบลห้วยจรเข้ ตำบลพระปฐมเจดีย์ ตำบลบ่อพลับ และตำบลทุ่งน้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองนครปฐม (เฉพาะตำบลมาบแค ตำบลตาก้อง ตำบลทัพหลวง และตำบลหนองงูเหลือม) และอำเภอกำแพงแสน (ยกเว้นตำบลสระพัฒนาและตำบลห้วยม่วง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอดอนตูม, อำเภอบางเลน และอำเภอกำแพงแสน (เฉพาะตำบลสระพัฒนาและตำบลห้วยม่วง) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอนครชัยศรีและอำเภอพุทธมณฑล · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสามพราน (ยกเว้นตำบลตลาดจินดา ตำบลคลองจินดา ตำบลบางช้าง ตำบลคลองใหม่ ตำบลท่าตลาด และตำบลหอมเกร็ด) |
6 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายดาบเทียม ศรีพิสิฐ |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายสมาน สุชาติกุล |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | ร้อยเอก ขุนวิริยะเหิรหาว (วิริยะ มีชำนาญ) |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายสานนท์ สายสว่าง |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | พันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายล้วน เวกชาลิกานน |
พ.ศ. 2492 | นายสานนท์ สายสว่าง (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500
แก้เขต | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 | ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
1 | เรือเอก พระสาครบุรานุรักษ์ | นายล้วน เวกชาลิกานน | นายล้วน เวกชาลิกานน |
นายสานนท์ สายสว่าง | นายสมัย จินตกานนท์ | นายสว่าง แก้ววิจิตร |
ชุดที่ 10–12; พ.ศ. 2512–2519
แก้เขต | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 |
1 | นายอาณัติ กระสินธุ์ | นายสราวุธ นิยมทรัพย์ | |
นายเสรี จีระพันธุ์ | นาย ประยงค์ โมกขพันธ์ | นายณรงค์ จิตติโภคา | |
นายล้วน เวกชาลิกานน | นายถวิล พวงสำลี | ร้อยตำรวจเอก มานัส ธุวนลิน |
ชุดที่ 13–18; พ.ศ. 2522–2535
แก้- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคชาติไทย
- พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
- พรรคประชากรไทย
- พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) → พรรคเอกภาพ
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคสามัคคีธรรม
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | ร้อยตำรวจเอก มานัส ธุวนลิน | นายวินัย เล้าอรุณ | นายประยงค์ โมกขพันธ์ | นายเชื่อม เรืองรอง |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายสราวุธ นิยมทรัพย์ (ถูกให้ออกจากพรรค) | นายประสานต์ บุญมี | นายชาญชัย ปทุมารักษ์ | |
นายสราวุธ นิยมทรัพย์ (เลือกตั้งใหม่) | |||||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายสราวุธ นิยมทรัพย์ | นายไชยยศ สะสมทรัพย์ | นายเชื่อม เรืองรอง | |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายประสานต์ บุญมี | นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ | ||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายสราวุธ นิยมทรัพย์ | นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายไชยยศ สะสมทรัพย์ | นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
แก้เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร | |
นายไชยยศ สะสมทรัพย์ | นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ | |
นายไชยา สะสมทรัพย์ | ||
2 | นายชาญชัย ปทุมารักษ์ | |
นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า | นายไชยยศ สะสมทรัพย์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายประสานต์ บุญมี | นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร |
2 | นายชาญชัย ปทุมารักษ์ | |
3 | นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า (ลาออก) | นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร |
นายประสิทธิ์ ภักดีพาณิชพงษ์ (แทนนายพรศักดิ์) [3] | ||
4 | นายไชยา สะสมทรัพย์ | |
5 | นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ |
- ***หมายเหตุ นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ลาออกเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นายมารุต บุญมี (แทนนายสมพัฒน์) [4] |
นายรัฐกร เจนกิจณรงค์ | ||
นายอนุชา สะสมทรัพย์ | ||
2 | นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร | |
นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
แก้- พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคเพื่อไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคอนาคตใหม่
- พรรคอนาคตใหม่ → พรรคก้าวไกล
- พรรคพลังประชารัฐ
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | พันโท สินธพ แก้วพิจิตร | พันโท สินธพ แก้วพิจิตร |
2 | นายรัฐกร เจนกิจณรงค์ | นายพาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์ |
3 | นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร | นางสาวสุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา |
4 | นายอนุชา สะสมทรัพย์ | นายปฐมพงศ์ สูญจันทร์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
5 | นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ | นางจุมพิตา จันทรขจร (ลาออก) |
นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ (แทนนางจุมพิตา) |
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
แก้เขต | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายศุภโชค ศรีสุขจร |
2 | พันโท สินธพ แก้วพิจิตร |
3 | นายพาณุวัฒณ์ สะสมทรัพย์ |
4 | นายกิตติภณ ปานพรหมมาศ |
5 | นายอนุชา สะสมทรัพย์ |
6 | นายชิษณุพงศ์ ตั้งเมธากุล |
รูปภาพ
แก้-
พันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม
-
นายล้วน เวกชาลิกานน
-
นายปัญญวัฒน์ บุญมี
-
นายชาญชัย ปทุมารักษ์
-
นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์
-
นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
-
นายไชยา สะสมทรัพย์
-
นายอนุชา สะสมทรัพย์
-
พันโท สินธพ แก้วพิจิตร
-
นางสาวสุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม เขตเลือกตั้งที่ ๓ แทนตำแหน่งที่ว่าง, เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๑๗ก, ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗, หน้า ๒๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง,เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๔ ก, ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๘
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดนครปฐม เก็บถาวร 2012-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน