สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา

จังหวัดฉะเชิงเทรา มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 4 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 4 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดฉะเชิงเทรา
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต4
คะแนนเสียง144,997 (เพื่อไทย)
108,130 (ก้าวไกล)
84,173 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (2)
ประชาชน (1)
กล้าธรรม (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดฉะเชิงเทรามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายหอมจันทร์ วัฒนวิจารณ์

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา, อำเภอบ้านโพธิ์, อำเภอบางปะกง และอำเภอแปลงยาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสนามชัยเขต, อำเภอพนมสารคาม, อำเภอบางคล้า, อำเภอบางน้ำเปรี้ยว และกิ่งอำเภอราชสาส์น
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา, อำเภอบ้านโพธิ์, อำเภอบางปะกง และอำเภอแปลงยาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสนามชัยเขต, อำเภอพนมสารคาม, อำเภอบางคล้า, อำเภอบางน้ำเปรี้ยว, กิ่งอำเภอราชสาส์น และกิ่งอำเภอท่าตะเกียบ
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา, อำเภอบ้านโพธิ์, อำเภอบางปะกง และอำเภอแปลงยาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสนามชัยเขต, อำเภอพนมสารคาม, อำเภอราชสาส์น, อำเภอบางคล้า, อำเภอบางน้ำเปรี้ยว, กิ่งอำเภอคลองเขื่อน และกิ่งอำเภอท่าตะเกียบ
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองฉะเชิงเทราและอำเภอบางคล้า (เฉพาะตำบลสาวชะโงก ตำบลบางสวน ตำบลเสม็ดเหนือ และตำบลเสม็ดใต้)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางน้ำเปรี้ยว, อำเภอราชสาส์น, อำเภอบางคล้า (ยกเว้นตำบลสาวชะโงก ตำบลบางสวน ตำบลเสม็ดเหนือ และตำบลเสม็ดใต้), อำเภอพนมสารคาม (เฉพาะตำบลหนองยาว ตำบลเมืองเก่า และตำบลหนองแหน) และกิ่งอำเภอคลองเขื่อน
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่าตะเกียบ, อำเภอสนามชัยเขต และอำเภอพนมสารคาม (ยกเว้นตำบลหนองยาว ตำบลเมืองเก่า และตำบลหนองแหน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแปลงยาว, อำเภอบ้านโพธิ์ และอำเภอบางปะกง
  4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสนามชัยเขต, อำเภอพนมสารคาม, อำเภอราชสาส์น, อำเภอบางคล้า, อำเภอคลองเขื่อน, อำเภอบางน้ำเปรี้ยว และอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา (เฉพาะตำบลบางแก้ว ตำบลบางขวัญ ตำบลท่าไข่ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลคลองจุกกระเฌอ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าตะเกียบ, อำเภอแปลงยาว, อำเภอบ้านโพธิ์, อำเภอบางปะกง และอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา (ยกเว้นตำบลบางแก้ว ตำบลบางขวัญ ตำบลท่าไข่ ตำบลบ้านใหม่ และตำบลคลองจุกกระเฌอ)
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองฉะเชิงเทราและอำเภอบางคล้า (เฉพาะตำบลสาวชะโงก ตำบลบางสวน ตำบลเสม็ดเหนือ และตำบลเสม็ดใต้)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางน้ำเปรี้ยว, อำเภอคลองเขื่อน, อำเภอราชสาส์น, อำเภอบางคล้า (ยกเว้นตำบลสาวชะโงก ตำบลบางสวน ตำบลเสม็ดเหนือ และตำบลเสม็ดใต้) และอำเภอพนมสารคาม (เฉพาะตำบลหนองยาว ตำบลเมืองเก่า และตำบลหนองแหน)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่าตะเกียบ, อำเภอสนามชัยเขต และอำเภอพนมสารคาม (ยกเว้นตำบลหนองยาว ตำบลเมืองเก่า และตำบลหนองแหน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแปลงยาว, อำเภอบ้านโพธิ์ และอำเภอบางปะกง
  4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองฉะเชิงเทราและอำเภอบางน้ำเปรี้ยว (เฉพาะตำบลศาลาแดงและตำบลโพรงอากาศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอคลองเขื่อน, อำเภอบางคล้า, อำเภอราชสาส์น, อำเภอพนมสารคาม (เฉพาะตำบลหนองยาว ตำบลบ้านซ่อง และตำบลเขาหินซ้อน) และอำเภอบางน้ำเปรี้ยว (ยกเว้นตำบลศาลาแดงและตำบลโพรงอากาศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่าตะเกียบ, อำเภอสนามชัยเขต และอำเภอพนมสารคาม (ยกเว้นตำบลหนองยาว ตำบลบ้านซ่อง และตำบลเขาหินซ้อน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแปลงยาว, อำเภอบ้านโพธิ์ และอำเภอบางปะกง
  4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองฉะเชิงเทราและอำเภอบ้านโพธิ์ (เฉพาะตำบลเกาะไร่ ตำบลเทพราช ตำบลคลองประเวศ และตำบลบางกรูด)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางน้ำเปรี้ยว, อำเภอคลองเขื่อน, อำเภอบางคล้า, อำเภอราชสาส์น และอำเภอพนมสารคาม (เฉพาะตำบลหนองยาวและตำบลพนมสารคาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่าตะเกียบ, อำเภอสนามชัยเขต และอำเภอพนมสารคาม (ยกเว้นตำบลหนองยาวและตำบลพนมสารคาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแปลงยาว, อำเภอบางปะกง และอำเภอบ้านโพธิ์ (ยกเว้นตำบลเกาะไร่ ตำบลเทพราช ตำบลคลองประเวศ และตำบลบางกรูด)
  4 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายหอมจันทร์ วัฒนวิจารณ์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายนิ่ม เรืองเกษตร
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายกิจจา วัฒนสินธุ์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายอุดม วัฒยานนท์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายกิจจา วัฒนสินธุ์
พ.ศ. 2492 หลวงนรกิจบริหาร (แดง กนิษฐสุต) (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7–9; พ.ศ. 2495–2500

แก้
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายจวน กุลละวณิชย์ นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายจวน กุลละวณิชย์ นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายพิชัย ศิริวรรณ นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

ชุดที่ 10–14; พ.ศ. 2512–2526

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคอิสระ
      พรรคสันติชน
      พรรคสังคมชาตินิยม
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปไตย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายชุมพล มณีเนตร นายจำลอง เทวารุทธ นายอนันต์ ฉายแสง
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายเกษม สรศักดิ์เกษม นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ นายอนันต์ ฉายแสง
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 พันโท บำเพ็ญ คชวัฒน์ นายชุมพล มณีเนตร
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายไกรสร นันทมานพ นายรณรงค์ มาลานนท์ นายจำลอง เทวารุทธ
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายไกรสร นันทมานพ นายทิวา พูลสมบัติ นายอนันต์ ฉายแสง

ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539

แก้
      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจประชาคมพรรคเอกภาพ
      พรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคชาติไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคมวลชน
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคไท (พ.ศ. 2539)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายไกรสร นันทมานพ นายจาตุรนต์ ฉายแสง นายสุชาติ ตันเจริญ นายจักรพันธ์ ทัตติยกุล
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ นายจาตุรนต์ ฉายแสง นายสุชาติ ตันเจริญ นายทิวา พูลสมบัติ
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ นายจาตุรนต์ ฉายแสง นายสุชาติ ตันเจริญ นายจักรพันธ์ ทัตติยกุล
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ร้อยตรีหญิง พนิดา เกษมมงคล นายสุชาติ ตันเจริญ นายอิทธิ ศิริลัทธยากร
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายจาตุรนต์ ฉายแสง นายสุชาติ ตันเจริญ
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายไกรสร นันทมานพ นายสุชาติ ตันเจริญ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติพัฒนาพรรคไทยรักไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายอนันต์ ฉายแสง นางฐิติมา ฉายแสง
2 นายอิทธิ ศิริลัทธยากร นายสมชัย อัศวชัยโสภณ
3 นายสุชาติ ตันเจริญ นายสุชาติ ตันเจริญ
4 นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23[2] พ.ศ. 2550
1 นายพิเชษฐ์ ตันเจริญ
นายอิทธิ ศิริลัทธยากร
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายณัชพล ตันเจริญ
(แทนนายอิทธิ)
2 นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง
นางฐิติมา ฉายแสง

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคภูมิใจไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคพลังประชารัฐพรรคกล้าธรรม
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายบุญเลิศ ไพรินทร์ นายกิตติชัย เรืองสวัสดิ์ นางฐิติมา ฉายแสง
2 นายสมชัย อัศวชัยโสภณ นายชัยวัฒน์ เป้าเปี่ยมทรัพย์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
นายอรรถกร ศิริลัทธยากร
3 นายรส มะลิผล นายสุชาติ ตันเจริญ นายศักดิ์ชาย ตันเจริญ
4 พลตำรวจโท พิทักษ์ จารุสมบัติ นายจิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์ นายจิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้