สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
จังหวัดกาญจนบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดกาญจนบุรี | |
![]() เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 5 |
คะแนนเสียง | 177,470 (เพื่อไทย) 81,643 (ภูมิใจไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | เพื่อไทย (4) ภูมิใจไทย (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดกาญจนบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายดาบ ยู่เกียง ทองลงยา
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายเรวัต สิรินุกุล
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดกาญจนบุรี คือ นางจินดา อังศุโชติ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2512)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- โพธิพิพิธ (3 คน) ได้แก่ นายประชา โพธิพิพิธ นายอัฏฐพล โพธิพิพิธ และนายธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย และอำเภอเลาขวัญ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา |
4 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ และกิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา | ||
พ.ศ. 2535/2 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, กิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย และกิ่งอำเภอหนองปรือ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา | ||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, กิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย และกิ่งอำเภอหนองปรือ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง, อำเภอท่ามะกา และกิ่งอำเภอห้วยกระเจา |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2539 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอด่านมะขามเตี้ย และกิ่งอำเภอหนองปรือ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง, อำเภอท่ามะกา และกิ่งอำเภอห้วยกระเจา | ||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านมะขามเตี้ย, อำเภอพนมทวน (ยกเว้นตำบลรางหวาย) และอำเภอท่าม่วง (ยกเว้นตำบลท่าตะคร้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอท่าม่วง (เฉพาะตำบลท่าตะคร้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเลาขวัญ, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอห้วยกระเจา และอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลรางหวาย) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์ และอำเภอหนองปรือ |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ และอำเภอห้วยกระเจา · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง, อำเภอท่ามะกา และอำเภอด่านมะขามเตี้ย |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรีและอำเภอไทรโยค (เฉพาะตำบลศรีมงคล) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่าม่วง, อำเภอด่านมะขามเตี้ย, อำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลหนองโรง ตำบลทุ่งสมอ ตำบลดอนเจดีย์ และตำบลหนองสาหร่าย) และอำเภอบ่อพลอย (เฉพาะตำบลหนองกุ่ม) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลพังตรุ ตำบลพนมทวน ตำบลดอนตาเพชร และตำบลรางหวาย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอห้วยกระเจา, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ, อำเภอบ่อพลอย (ยกเว้นตำบลหนองกุ่ม) และอำเภอศรีสวัสดิ์ (เฉพาะตำบลเขาโจด) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค (ยกเว้นตำบลศรีมงคล) และอำเภอศรีสวัสดิ์ (ยกเว้นตำบลเขาโจด) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรีและอำเภอศรีสวัสดิ์ · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านมะขามเตี้ยและอำเภอท่าม่วง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอพนมทวน · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอห้วยกระเจา, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ และอำเภอบ่อพลอย · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอไทรโยค, อำเภอทองผาภูมิ และอำเภอสังขละบุรี |
|
5 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองกาญจนบุรี (ยกเว้นตำบลบ้านเก่า) และอำเภอบ่อพลอย (เฉพาะตำบลหนองกุ่ม) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอด่านมะขามเตี้ย, อำเภอท่าม่วง และอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลหนองโรง ตำบลทุ่งสมอ ตำบลดอนเจดีย์ และตำบลหนองสาหร่าย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอท่ามะกาและอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลพังตรุ ตำบลพนมทวน ตำบลดอนตาเพชร และตำบลรางหวาย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอห้วยกระเจา, อำเภอเลาขวัญ, อำเภอหนองปรือ และอำเภอบ่อพลอย (ยกเว้นตำบลหนองกุ่ม) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอไทรโยค และอำเภอเมืองกาญจนบุรี (เฉพาะตำบลบ้านเก่า) |
5 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายดาบ ยู่เกียง ทองลงยา |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายพิพัฒน์ (เต็ก) ภังคานนท์ |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายจำลอง ธนโสภณ |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายทอง สุดออมสิน (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายสวัสดิ์ สาระสาลิน |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | นายฉาย วิโรจน์ศิริ |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายฉาย วิโรจน์ศิริ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายแผน สิริเวชชะพันธ์ |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
แก้เขต | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นางจินดา อังศุโชติ |
นายบุญเทียม ประสมศักดิ์ |
ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522
แก้เขต | ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 | ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 | ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 |
1 | นายแผน สิริเวชชะพันธ์ | นายแผน สิริเวชชะพันธ์ | พลโท ชาญ อังศุโชติ |
พลโท ชาญ อังศุโชติ | นายยงยุทธ ตันพิริยะกุล | นางสมทรง จันทาภากุล | |
นายฉิม ชอบธรรม | นายประวิทย์ วอนเพียร | นายชวิน เป้าอารีย์ |
ชุดที่ 14–18; พ.ศ. 2526–2535
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | พลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ | พลโท ชาญ อังศุโชติ | นายเรวัต ศิริศิลวัตนุกุล | นางจินดา อังศุโชติ |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายคงศักดิ์ กลีบบัว | นายเรวัต สิรินุกุล | นางสมทรง จันทาภากุล | |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ | นายเรวัต สิรินุกุล | นายชวิน เป้าอารีย์ | |
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นาวาโท เดชา สุขารมณ์ | นายสันทัด จีนาภักดิ์ | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 |
ชุดที่ 19–20 ; พ.ศ. 2538–2539
แก้เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | พลตรี ศรชัย มนตริวัต | พลตรี ศรชัย มนตริวัต |
นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร | พลเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ | |
นาวาโท เดชา สุขารมณ์ | ||
2 | นายประชา โพธิพิพิธ | |
นายเรวัต สิรินุกุล |
ชุดที่ 21–22 ; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นาวาโท เดชา สุขารมณ์ ( / เลือกตั้งใหม่) |
พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ |
2 | นายสันทัด จีนาภักดิ์ | |
3 | นายเรวัต สิรินุกุล ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายปารเมศ โพธารากุล |
นายเรวัต สิรินุกุล (แทนนายปารเมศ) | ||
4 | นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร ( / เลือกตั้งใหม่) |
นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร |
5 | นายประชา โพธิพิพิธ ( / เลือกตั้งใหม่ / ) |
พลโท มะ โพธิ์งาม |
พลตรี ศรชัย มนตริวัต (แทนนายประชา) |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | พลโท มะ โพธิ์งาม |
พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ | |
นายอัฏฐพล โพธิพิพิธ | |
2 | นายปารเมศ โพธารากุล |
นายสันทัด จีนาภักดิ์ |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
แก้เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ | พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายอัครนันท์ กัณณ์กิตตินันท์ |
2 | นายฉัตรพันธ์ เดชกิจสุนทร (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายสมเกียรติ วอนเพียร (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายชูศักดิ์ แม้นทิม |
3 | นายสุรพงษ์ ปิยะโชติ | นายยศวัฒน์ มาไพศาลสิน | |
4 | นายประชา โพธิพิพิธ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายธรรมวิชญ์ โพธิพิพิธ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายศักดิ์ดา วิเชียรศิลป์ |
5 | นางศรีสมร รัศมีฤกษ์เศรษฐ์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายอัฏฐพล โพธิพิพิธ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายพนม โพธิ์แก้ว |
รูปภาพ
แก้-
นายฉาย วิโรจน์ศิริ
-
นายแผน สิริเวชชะพันธ์
-
พลโท ชาญ อังศุโชติ
-
พลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์
-
นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์
-
นายปารเมศ โพธารากุล
-
นายสุรพงษ์ ปิยะโชติ
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดกาญจนบุรี เก็บถาวร 2011-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน